http://www.nrk.no/verden/putin-beordrer-militaerovelse-1.11570760
รายงานข่าวตามเวลาท้องถิ่น 1400 ของวันที่ 26 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมาที่เขตทหารบกภาคตะวันตกของรัสเซียว่า
มีการเคลื่อนย้ายกำลังทหารทั้งกองทัพบก กองเรือบอลติกและกองเรือทะเลเหนือกองทัพเรือ และกองทัพอากาศเพื่อทำการฝึกซ้อมรบอย่างเร่งด่วน
รัฐมนตรีกลาโหมรัสเซียนาย Sergei Shoigu ได้กล่าวกับสื่อว่าเป็นคำสั่งของประธานธิบดี Putin เพื่อจะจัดการซ้อมรบโดยเริ่มในวันศุกร์นี้่เป็นระยะเวลาสี่วัน
แต่เป็นที่น่าสังเกตุว่าการซ้อมรบอย่างเร่งด่วนครั้งนี้เกิดขึ้นใกล้พรมแดนยูเครนซึ่งกำลังมีปัญหาสถานการณ์การเมืองภายในที่รุนแรงมายาวนานหลายเดือน
โดยเฉพาะสถานการณ์ในยูเครนภาคตะวันออกที่สนับสนุนรัสเซีย
และเมือง Sevastopol สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียซึ่งเป็นฐานทัพกองเรือทะเลดำของรัสเซีย ที่มีกลุ่มติดอาวุธยึดรัฐสภาของเมืองชักธงชาติรัสเซีย
สถานการณ์ในยูเครนส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ของรัสเซียและการคานอำนาจกับสหภาพยุโรปและสหรัฐฯในภูมิภาคนี้ครับ
วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
อินเดียกลายเป็นผู้จัดหาอาวุธจากสหรัฐฯรายใหญ่ที่สุด
http://www.cnbc.com/id/101438440
สหรัฐฯได้อันดับเป็นประเทศผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2013 ด้วยมูลค่า $25.2 billion ในปี 2013 เมื่อเทียบกับ $24.9 billion ในปี 2012
ซึ่งอินเดียได้กลายเป็นผู้จัดหาอาวุธจากสหรัฐฯรายใหญ่ที่สุดด้วยวงเงิน $1.9 billion แทนที่รัสเซียซึ่งเคยเป็นแหล่งจัดหาอาวุธหลักของอินเดียมาก่อน
โดยในช่วงหลายปีหลังมานี้อินเดียได้มีการจัดหาระบบอาวุธครั้งใหญ่จากสหรัฐฯหลายรายการเช่น
เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล P-8I, ฮ.ลำเลียงหนัก CH-47F, ฮ.โจมตี AH-64E และเครื่องบินลำเลียงหนัก C-17A เป็นต้น
ปัจจุบันอินเดียได้กลายเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ของโลกด้วยการจัดหามูลค่า $5.9 billion แซงหน้าซาอุดิอาระเบียและจีนไปแล้วครับ
สหรัฐฯได้อันดับเป็นประเทศผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2013 ด้วยมูลค่า $25.2 billion ในปี 2013 เมื่อเทียบกับ $24.9 billion ในปี 2012
ซึ่งอินเดียได้กลายเป็นผู้จัดหาอาวุธจากสหรัฐฯรายใหญ่ที่สุดด้วยวงเงิน $1.9 billion แทนที่รัสเซียซึ่งเคยเป็นแหล่งจัดหาอาวุธหลักของอินเดียมาก่อน
โดยในช่วงหลายปีหลังมานี้อินเดียได้มีการจัดหาระบบอาวุธครั้งใหญ่จากสหรัฐฯหลายรายการเช่น
เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล P-8I, ฮ.ลำเลียงหนัก CH-47F, ฮ.โจมตี AH-64E และเครื่องบินลำเลียงหนัก C-17A เป็นต้น
ปัจจุบันอินเดียได้กลายเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ของโลกด้วยการจัดหามูลค่า $5.9 billion แซงหน้าซาอุดิอาระเบียและจีนไปแล้วครับ
วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ปัญหาเครื่องบินฝึกไอพ่น HAL IJT ของกองทัพอากาศอินเดีย
http://indrus.in/blogs/2014/02/24/flameout_why_the_iaf_wont_accept_hals_jet_trainer_33117.html
ปัญหาความล่าช้าในการพัฒนาอากาศยานทางทหารของอินเดียวดูเหมือนจะเป็นปัญหาเรื้อรังที่มีมาต่อเนื่องยาวนาน
สำหรับโครงการพัฒนาเครื่องบินฝึกไอพ่น IJT(Intermediate Jet Trainer) หรือ HAL HJT-36 Sitara
ซึ่งจะนำมาประจำการทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่น HAL HJT-16 Kiran ที่ประจำการมานานตั้งแต่ช่วงปี 1960s
แต่ทว่านับตั้งแต่เริ่มโครงการในปี 1997 จนถึงสร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกทำการบินในปี 2003 นั้น โครงการประสบปัญหาความล่าช้ามาต่อเนื่องตลอด
ตั้งแต่การเลื่อนการเปิดสายการผลิตเครื่องชุดแรก 73เครื่อง จากปี 2007 เป็นปี 2010 และล่าสุดเลื่อนเป็นปี 2014-2015
อุบัติเหตุเครื่องต้นแบบที่เกิดขึ้นมาแล้วอย่างน้อยสามครั้ง การเปลี่ยนรุ่นเครื่องยนต์ใหม่จาก SNECMA Turbomeca Larzac 04-H-20 เป็น NPO Saturn AL-55I
แต่อย่างไรก็ตามกองทัพอากาศอินเดียก็ยังวคงเดินหน้าโครงการนี้ต่อไปอยู่ดีครับ
ปัญหาความล่าช้าในการพัฒนาอากาศยานทางทหารของอินเดียวดูเหมือนจะเป็นปัญหาเรื้อรังที่มีมาต่อเนื่องยาวนาน
สำหรับโครงการพัฒนาเครื่องบินฝึกไอพ่น IJT(Intermediate Jet Trainer) หรือ HAL HJT-36 Sitara
ซึ่งจะนำมาประจำการทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่น HAL HJT-16 Kiran ที่ประจำการมานานตั้งแต่ช่วงปี 1960s
แต่ทว่านับตั้งแต่เริ่มโครงการในปี 1997 จนถึงสร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกทำการบินในปี 2003 นั้น โครงการประสบปัญหาความล่าช้ามาต่อเนื่องตลอด
ตั้งแต่การเลื่อนการเปิดสายการผลิตเครื่องชุดแรก 73เครื่อง จากปี 2007 เป็นปี 2010 และล่าสุดเลื่อนเป็นปี 2014-2015
อุบัติเหตุเครื่องต้นแบบที่เกิดขึ้นมาแล้วอย่างน้อยสามครั้ง การเปลี่ยนรุ่นเครื่องยนต์ใหม่จาก SNECMA Turbomeca Larzac 04-H-20 เป็น NPO Saturn AL-55I
แต่อย่างไรก็ตามกองทัพอากาศอินเดียก็ยังวคงเดินหน้าโครงการนี้ต่อไปอยู่ดีครับ
วันจันทร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
กองทัพอากาศโปแลนด์มีแผนจัดหาเครื่องบินขับไล่ยุคที่5ในปี 2020-2030
http://www.altair.com.pl/news/view?news_id=12775
กองทัพอากาศโปแลนด์มีแผนจัดหาเครื่องบินขับไล่ยุคที่5 จำนวน 64เครื่องในช่วงปี 2020-2030
ซึ่งจะเป็นการทดแทนอากาศยานรบเก่าจำนวนมากหลายแบบที่ใช้งานมาแต่ตั้งสมัยโปแลนด์ยังอยู่ในกลุ่ม Warsaw Pact เช่น MiG-29 และ Su-22
โดยอาจจะมีการจัดหา F-16 เพิ่มเติมจากที่จัดหา F-16C/D Block 52 Plus จำนวน 48เครื่องช่วงปี 2006-2009
แบบเครื่องบินขับไล่ที่คาดกันว่าโปแลนด์จะจัดหาน่าจะเป็น F-35
แต่อย่างไรก็ตามแผนการนี้ขึ้นอยู่กับการประเมินของฝ่ายรัฐบาลโปแลนด์ในด้านฐานะเศรษฐกิจการเงินของประเทศในอนาคตด้วยครับ
กองทัพอากาศโปแลนด์มีแผนจัดหาเครื่องบินขับไล่ยุคที่5 จำนวน 64เครื่องในช่วงปี 2020-2030
ซึ่งจะเป็นการทดแทนอากาศยานรบเก่าจำนวนมากหลายแบบที่ใช้งานมาแต่ตั้งสมัยโปแลนด์ยังอยู่ในกลุ่ม Warsaw Pact เช่น MiG-29 และ Su-22
โดยอาจจะมีการจัดหา F-16 เพิ่มเติมจากที่จัดหา F-16C/D Block 52 Plus จำนวน 48เครื่องช่วงปี 2006-2009
แบบเครื่องบินขับไล่ที่คาดกันว่าโปแลนด์จะจัดหาน่าจะเป็น F-35
แต่อย่างไรก็ตามแผนการนี้ขึ้นอยู่กับการประเมินของฝ่ายรัฐบาลโปแลนด์ในด้านฐานะเศรษฐกิจการเงินของประเทศในอนาคตด้วยครับ
วันเสาร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ปากีสถานจะจัดหา F-16 จากจอร์แดน
ISLAMABAD: The Pakistan Air Force (PAF) has acquired one squadron of F-16 multi-role fighter aircraft from Jordan and 13 F-16s will be inducted into the service next month.
With this, the strength of PAF F-16s will reach 76. The fighter aircraft have been purchased from Jordan and they were in the use of the Royal Jordanian Air Force (RJAF). The deal has already been finalised and inked by both the countries. The 13 aircraft are of F-16 A/B Block-15 and the PAF has similar aircraft in its fleet which are flying satisfactorily.
The deal about 12 A models and one B model aircraft has been authenticated by the manufacturing company and the US government has also given its nod for the sale/purchase of the planes.
Well-placed defence sources told The News here the other day that the purchased aircraft were in good condition since they had attained Mid-Life Update (MLU) and they would be providing service for another 20 years with almost 3,000 hours on average available to them for flying.
They have been modified into Air Defence Fighters (ADF) versions. The Ogden Air Logistics Centre performed structural upgrades to extend the aircraft life from the designed 4,000 to 8,000 hours flying time as part of the programme. They also modified the aircraft engine bay for the upgraded Pratt and Whitney F100-220E engine. The induction of the planes will give a boost in air power to the PAF that is rendering a remarkable service in the war against terror.
http://www.thenews.com.pk/Todays-News-13-28662-PAF-acquires-F-16s-from-Jordan
ปากีสถานมีแผนจะจัดหา F-16A/B Block 15 ADF จำนวน 13เครื่องจากกองทัพอากาศจอร์แดนแบ่งเป็น F-16A 12เครื่อง และ F-16B 1เครื่อง
ซึ่งการจัดหานี้ได้รับอนุญาตจาก Lockheed Martin และรัฐบาลสหรัฐฯแล้ว ซึ่งจะทำให้ปากีสถานมีกำลัง F-16 เพิ่มเป็น 76เครื่อง
F-16 ที่ปากีสถานจะจัดหาจากจอร์แดนอาจจะได้รับการปรับปรุง MLU ไปแล้วทำให้มีอายุการใช้งานไปอีกอย่างน้อย 20ปี
ซึ่งปากีสถานจะได้รับมอบเครื่องในราวเดือนหน้าครับ
With this, the strength of PAF F-16s will reach 76. The fighter aircraft have been purchased from Jordan and they were in the use of the Royal Jordanian Air Force (RJAF). The deal has already been finalised and inked by both the countries. The 13 aircraft are of F-16 A/B Block-15 and the PAF has similar aircraft in its fleet which are flying satisfactorily.
The deal about 12 A models and one B model aircraft has been authenticated by the manufacturing company and the US government has also given its nod for the sale/purchase of the planes.
Well-placed defence sources told The News here the other day that the purchased aircraft were in good condition since they had attained Mid-Life Update (MLU) and they would be providing service for another 20 years with almost 3,000 hours on average available to them for flying.
They have been modified into Air Defence Fighters (ADF) versions. The Ogden Air Logistics Centre performed structural upgrades to extend the aircraft life from the designed 4,000 to 8,000 hours flying time as part of the programme. They also modified the aircraft engine bay for the upgraded Pratt and Whitney F100-220E engine. The induction of the planes will give a boost in air power to the PAF that is rendering a remarkable service in the war against terror.
http://www.thenews.com.pk/Todays-News-13-28662-PAF-acquires-F-16s-from-Jordan
ปากีสถานมีแผนจะจัดหา F-16A/B Block 15 ADF จำนวน 13เครื่องจากกองทัพอากาศจอร์แดนแบ่งเป็น F-16A 12เครื่อง และ F-16B 1เครื่อง
ซึ่งการจัดหานี้ได้รับอนุญาตจาก Lockheed Martin และรัฐบาลสหรัฐฯแล้ว ซึ่งจะทำให้ปากีสถานมีกำลัง F-16 เพิ่มเป็น 76เครื่อง
F-16 ที่ปากีสถานจะจัดหาจากจอร์แดนอาจจะได้รับการปรับปรุง MLU ไปแล้วทำให้มีอายุการใช้งานไปอีกอย่างน้อย 20ปี
ซึ่งปากีสถานจะได้รับมอบเครื่องในราวเดือนหน้าครับ
วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
พิธีเปิดสายการผลิต บ.ทอ.๖ ระยะที่ ๑
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ เป็นประธานในพิธีเปิดสายการผลิต บ.ทอ.๖ ระยะที่ ๑ โดยมี พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ เจ้ากรมช่างอากาศ ให้การต้อนรับ เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ณ กรมช่างอากาศ บางซื่อ
กรมช่างอากาศ มีขีดความสามารถในการวิจัย พัฒนา และสร้างเครื่องบินเพื่อใช้งาน โดยเฉพาะเครื่องบินฝึก/ธุรการ ซึ่งได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง จนมีผลงานวิจัยที่สามารถพัฒนาเข้าสู่สายการผลิตได้ คือ บ.ทอ.๖
ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ปี ๒๕๕๑ – ๒๕๖๒ (ฉบับปรับปรุงปี ๒๕๕๒) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ ได้กำหนดกลยุทธ์ให้มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงวิจัยและพัฒนากิจการการบินและอุตสาหกรรมการบิน และกิจการเกี่ยวข้องเนื่องในด้านการบินของประเทศ
นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ปี ๒๕๕๖ นโยบายเร่งด่วน ข้อ ๙ นำผลการวิจัยและพัฒนา บ.ทอ.๖ เข้าสู่สายการผลิต เพื่อใช้เป็นเครื่องบินฝึก/ธุรการ และพิจารณาการติดตั้งกล้องพร้อมระบบ Video Down Link (VDL) ที่ได้จากการวิจัย เพื่อให้สามารถใช้เป็นเครื่องบินลาดตระเวนทางอากาศ ของกองทัพอากาศ และต่างเหล่าทัพในอนาคตโดยจัดให้มีแผนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
โครงการผลิต บ.ทอ.๖ จำนวน ๒๕ เครื่อง โดยในระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ จะดำเนินการผลิต จำนวน ๓ เครื่อง
เมื่อ พ.ศ.๒๕๕๔ กรมช่างอากาศ ทำการทดสอบเครื่องยนต์ที่ได้รับการติดตั้งกับเครื่องบินแบบ บ.ทอ.๖ ซึ่งพัฒนามาจากพื้นฐานของเครื่องบินฝึกแบบที่ ๑๕ SF-260 MT ซึ่งใช้เครื่องยนต์ลูกสูบ และ บ.ชอ.๒ นับว่าเป็นผลสำเร็จในระดับที่น่าพึงพอใจ โครงการ บ.ทอ.๖ ออกแบบพัฒนามาพร้อมกับ โครงการ บ.ชอ. ๒ มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๙
โครงการ บ.ทอ.๖ เป็นโครงการที่สอง ของกรมช่างอากาศ ที่ดำเนินการพัฒนาสร้างอากาศยานต้นแบบเรียกว่า “โครงการเครื่องบินกองทัพอากาศแบบที่ ๖ หรือ บ.ทอ.๖” โดยเลือกใช้เครื่องยนต์ Turbo Prop และใช้พื้นฐานประสบการณ์และความรู้จากการสร้างเครื่องบิน บ.ชอ.๒ ซึ่งเป็นโครงการที่หนึ่งดังที่กล่าวข้างต้น มาดำเนินการ สำหรับโครงการ บ.ทอ.๖ นี้ ได้รับการบรรจุเป็นงานวิจัยและพัฒนาทางทหาร ของสำนักงานวิจัยและพัฒนาการทหารกลาโหม พร้อมทั้งได้รับงบประมาณสนับสนุนจำนวน ๓๖.๗ ล้านบาท
บ.ทอ.๖ ได้รับการติดตั้งเครื่องยนต์ Turbo Prop Allison 250 ให้แรงขับ ๔๒๐ แรงม้า ติดตั้งใบพัด ๓ กลีบ โดยพัฒนาออกแบบในส่วน Engine Mount และ Cowling ใหม่ทั้งหมด เพิ่ม Aerobatic Tank สำหรับการบินผาดแผลง มาตรฐานความปลอดภัย FAR 23 compliance ในทุกระบบ แผงหน้าปัดได้รับการออกแบบใหม่ให้ทันสมัย ในขณะที่ บ.ชอ.๒ ยังคงพื้นฐานของเครื่องบินฝึกแบบที่ ๑๕ SF-260 โดยใช้เครื่องยนต์ลูกสูบนอนขนาด ๒๕๐ แรงม้า
โดยเมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ ได้ทำการบิน First flight โดยไม่เก็บฐาน เป็นครั้งแรก โดยมี นาวาอากาศตรี ภาสกร ไชยกำเนิด เป็นนักบินลองเครื่อง เรืออากาศโท อนันต์ วงศ์ชาลี เป็น Flight Engineer นำเครื่องบิน บ.ทอ.๖ ขึ้นบินเพื่อทดสอบสมรรถนะ ระยะสูง ๕,๐๐๐ ฟุต ที่ความเร็วประมาณ ๑๐๐ กม./ชม. โดยมี เรืออากาศเอก สานิตย์ ประวิตรวงศ์ นักบินลองเครื่อง และ พลอากาศตรี พลานันท์ ปะจายะกฤตย์ Flight Engineer ทำการบินกับเครื่องบินกรมช่างอากาศแบบที่ ๒ (บ.ชอ.๒) เป็นเครื่อง Chaser ถือเป็นความสำเร็จก้าวสำคัญอีกครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การสร้างอากาศยานสมัยใหม่ของประเทศไทย
สำหรับในอดีตนั้น กองทัพอากาศ เคยมีประสบการสร้างเครื่องบินแบบต่างๆ อาทิ นิเออปอร์ต, เบรเกต์ ๓/๑๔, สปัด ๗/๑๓, แอฟโร ๕๐๔ เอ็น, คอร์แซร์ วี ๙๓ เอส และ ฮอว์ค ๓ รวมกันกว่า ๒๐๐ เครื่อง และยังมีประสบการณ์ในการออกแบบอากาศยานแบบต่างๆ ขึ้นใช้ในราชการ อาทิ เครื่องบินทิ้งระเบิดแบบ บริพัตร (บ.ท.๒), เครื่องบินขับไล่แบบประชาธิปก (บ.ข.๕), เครื่องบินฝึกและสื่อสารแบบ บ.ทอ.๑ – บ.ทอ.๕ โดยเฉพาะเครื่องบินแบบ บ.ทอ.๔ ได้มีการเปิดสายการผลิตเป็นเครื่องบินฝึกเมื่อปี ๒๕๑๗ จำนวน ๑๒ เครื่อง กำหนดสัญลักษณ์เป็น บ.ฝ.๑๗ มีชื่อว่า “จันทรา” โดยใช้เป็นเครื่องบินฝึกหน่วยฝึกการบินพลเรือนกองทัพอากาศ
โดย รัชต์ รัตนวิจารณ์
https://www.facebook.com/rtaf6
จะเห็นจากภาพโรงงานของกรมช่างอากาศว่านอกจากเครื่อง บ.ทอ.๖ เครื่องต้นแบบหนึ่งเครื่องที่ทำการบินทดสอบไปแล้วก่อนหน้านี้ตั้งแสดงในส่วนนอกอาคารโรงงานนั้น
มีภาพชิ้นส่วนเครื่องบินที่น่าจะเป็นโครงของ บ.ทอ.๖ เครื่องในสายการผลิต Pre-Production Prototype ส่วนตัวเครื่องด้านหัวเครื่องที่จะเป็นส่วนติดตั้งใบพัดและเครื่องยนต์ ๑เครื่อง และด้านหลังไกลๆมีชิ้นส่วนที่อาจจะเป็นโครงเครื่องทางสีรองพื้นสีเหลืองไว้แล้ว
รวมถึงเครื่องจักรที่กำลังน่าจะทำการเดินเครื่องตัดแผ่นเหล็กอยู่อีก
ตรงนี้ส่วนตัววิเคราะห์ว่าตอนนี้ทางกรมช่างอากาศน่าจะมีโครงชิ้นส่วนตัวเครื่องที่รอการประกอบชิ้นส่วนอย่างน้อย ๒เครื่องขึ้นไป ตามโครงการระยะที่๑ ที่จะประกอบเครื่อง Pre-Production Prototype ๓เครื่อง
บ.ทอ.๖ ที่จะสร้างขึ้นมาตามแผนโครงการระยะที่๑ ก็น่าจะทำการสร้างพร้อมกันที่เดียวทั้ง ๓เครื่อง ซึ่งอาจจะเสร็จทำการทดสอบต่างๆได้ในระยะเวลาที่กำหนดพร้อมๆกันครับ
กรมช่างอากาศ มีขีดความสามารถในการวิจัย พัฒนา และสร้างเครื่องบินเพื่อใช้งาน โดยเฉพาะเครื่องบินฝึก/ธุรการ ซึ่งได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง จนมีผลงานวิจัยที่สามารถพัฒนาเข้าสู่สายการผลิตได้ คือ บ.ทอ.๖
ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ปี ๒๕๕๑ – ๒๕๖๒ (ฉบับปรับปรุงปี ๒๕๕๒) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ ได้กำหนดกลยุทธ์ให้มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงวิจัยและพัฒนากิจการการบินและอุตสาหกรรมการบิน และกิจการเกี่ยวข้องเนื่องในด้านการบินของประเทศ
นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ปี ๒๕๕๖ นโยบายเร่งด่วน ข้อ ๙ นำผลการวิจัยและพัฒนา บ.ทอ.๖ เข้าสู่สายการผลิต เพื่อใช้เป็นเครื่องบินฝึก/ธุรการ และพิจารณาการติดตั้งกล้องพร้อมระบบ Video Down Link (VDL) ที่ได้จากการวิจัย เพื่อให้สามารถใช้เป็นเครื่องบินลาดตระเวนทางอากาศ ของกองทัพอากาศ และต่างเหล่าทัพในอนาคตโดยจัดให้มีแผนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
โครงการผลิต บ.ทอ.๖ จำนวน ๒๕ เครื่อง โดยในระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ จะดำเนินการผลิต จำนวน ๓ เครื่อง
เมื่อ พ.ศ.๒๕๕๔ กรมช่างอากาศ ทำการทดสอบเครื่องยนต์ที่ได้รับการติดตั้งกับเครื่องบินแบบ บ.ทอ.๖ ซึ่งพัฒนามาจากพื้นฐานของเครื่องบินฝึกแบบที่ ๑๕ SF-260 MT ซึ่งใช้เครื่องยนต์ลูกสูบ และ บ.ชอ.๒ นับว่าเป็นผลสำเร็จในระดับที่น่าพึงพอใจ โครงการ บ.ทอ.๖ ออกแบบพัฒนามาพร้อมกับ โครงการ บ.ชอ. ๒ มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๙
โครงการ บ.ทอ.๖ เป็นโครงการที่สอง ของกรมช่างอากาศ ที่ดำเนินการพัฒนาสร้างอากาศยานต้นแบบเรียกว่า “โครงการเครื่องบินกองทัพอากาศแบบที่ ๖ หรือ บ.ทอ.๖” โดยเลือกใช้เครื่องยนต์ Turbo Prop และใช้พื้นฐานประสบการณ์และความรู้จากการสร้างเครื่องบิน บ.ชอ.๒ ซึ่งเป็นโครงการที่หนึ่งดังที่กล่าวข้างต้น มาดำเนินการ สำหรับโครงการ บ.ทอ.๖ นี้ ได้รับการบรรจุเป็นงานวิจัยและพัฒนาทางทหาร ของสำนักงานวิจัยและพัฒนาการทหารกลาโหม พร้อมทั้งได้รับงบประมาณสนับสนุนจำนวน ๓๖.๗ ล้านบาท
บ.ทอ.๖ ได้รับการติดตั้งเครื่องยนต์ Turbo Prop Allison 250 ให้แรงขับ ๔๒๐ แรงม้า ติดตั้งใบพัด ๓ กลีบ โดยพัฒนาออกแบบในส่วน Engine Mount และ Cowling ใหม่ทั้งหมด เพิ่ม Aerobatic Tank สำหรับการบินผาดแผลง มาตรฐานความปลอดภัย FAR 23 compliance ในทุกระบบ แผงหน้าปัดได้รับการออกแบบใหม่ให้ทันสมัย ในขณะที่ บ.ชอ.๒ ยังคงพื้นฐานของเครื่องบินฝึกแบบที่ ๑๕ SF-260 โดยใช้เครื่องยนต์ลูกสูบนอนขนาด ๒๕๐ แรงม้า
โดยเมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ ได้ทำการบิน First flight โดยไม่เก็บฐาน เป็นครั้งแรก โดยมี นาวาอากาศตรี ภาสกร ไชยกำเนิด เป็นนักบินลองเครื่อง เรืออากาศโท อนันต์ วงศ์ชาลี เป็น Flight Engineer นำเครื่องบิน บ.ทอ.๖ ขึ้นบินเพื่อทดสอบสมรรถนะ ระยะสูง ๕,๐๐๐ ฟุต ที่ความเร็วประมาณ ๑๐๐ กม./ชม. โดยมี เรืออากาศเอก สานิตย์ ประวิตรวงศ์ นักบินลองเครื่อง และ พลอากาศตรี พลานันท์ ปะจายะกฤตย์ Flight Engineer ทำการบินกับเครื่องบินกรมช่างอากาศแบบที่ ๒ (บ.ชอ.๒) เป็นเครื่อง Chaser ถือเป็นความสำเร็จก้าวสำคัญอีกครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การสร้างอากาศยานสมัยใหม่ของประเทศไทย
สำหรับในอดีตนั้น กองทัพอากาศ เคยมีประสบการสร้างเครื่องบินแบบต่างๆ อาทิ นิเออปอร์ต, เบรเกต์ ๓/๑๔, สปัด ๗/๑๓, แอฟโร ๕๐๔ เอ็น, คอร์แซร์ วี ๙๓ เอส และ ฮอว์ค ๓ รวมกันกว่า ๒๐๐ เครื่อง และยังมีประสบการณ์ในการออกแบบอากาศยานแบบต่างๆ ขึ้นใช้ในราชการ อาทิ เครื่องบินทิ้งระเบิดแบบ บริพัตร (บ.ท.๒), เครื่องบินขับไล่แบบประชาธิปก (บ.ข.๕), เครื่องบินฝึกและสื่อสารแบบ บ.ทอ.๑ – บ.ทอ.๕ โดยเฉพาะเครื่องบินแบบ บ.ทอ.๔ ได้มีการเปิดสายการผลิตเป็นเครื่องบินฝึกเมื่อปี ๒๕๑๗ จำนวน ๑๒ เครื่อง กำหนดสัญลักษณ์เป็น บ.ฝ.๑๗ มีชื่อว่า “จันทรา” โดยใช้เป็นเครื่องบินฝึกหน่วยฝึกการบินพลเรือนกองทัพอากาศ
โดย รัชต์ รัตนวิจารณ์
https://www.facebook.com/rtaf6
จะเห็นจากภาพโรงงานของกรมช่างอากาศว่านอกจากเครื่อง บ.ทอ.๖ เครื่องต้นแบบหนึ่งเครื่องที่ทำการบินทดสอบไปแล้วก่อนหน้านี้ตั้งแสดงในส่วนนอกอาคารโรงงานนั้น
มีภาพชิ้นส่วนเครื่องบินที่น่าจะเป็นโครงของ บ.ทอ.๖ เครื่องในสายการผลิต Pre-Production Prototype ส่วนตัวเครื่องด้านหัวเครื่องที่จะเป็นส่วนติดตั้งใบพัดและเครื่องยนต์ ๑เครื่อง และด้านหลังไกลๆมีชิ้นส่วนที่อาจจะเป็นโครงเครื่องทางสีรองพื้นสีเหลืองไว้แล้ว
รวมถึงเครื่องจักรที่กำลังน่าจะทำการเดินเครื่องตัดแผ่นเหล็กอยู่อีก
ตรงนี้ส่วนตัววิเคราะห์ว่าตอนนี้ทางกรมช่างอากาศน่าจะมีโครงชิ้นส่วนตัวเครื่องที่รอการประกอบชิ้นส่วนอย่างน้อย ๒เครื่องขึ้นไป ตามโครงการระยะที่๑ ที่จะประกอบเครื่อง Pre-Production Prototype ๓เครื่อง
บ.ทอ.๖ ที่จะสร้างขึ้นมาตามแผนโครงการระยะที่๑ ก็น่าจะทำการสร้างพร้อมกันที่เดียวทั้ง ๓เครื่อง ซึ่งอาจจะเสร็จทำการทดสอบต่างๆได้ในระยะเวลาที่กำหนดพร้อมๆกันครับ
วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
มาเลเซียอาจเปลี่ยนแนวทางการจัดหาเครื่องบินขับไล่เป็นการเช่า
Cash-Strapped Malaysia Looks To Lease Fighters
SINGAPORE — Malaysia’s proposed purchase of fighter jets has switched from a procurement competition to a leasing competition due to affordability issues, according to industry executives.
The Malaysian government put its multirole combat aircraft program in the freezer last year for fiscal and political reasons. Now Boeing, BAE Systems and Saab have, or are about to, submit leasing proposals in the hope of making a deal palatable. An industry executive asked whether Malaysia has the political will to make any kind of selection at this time, leasing or otherwise. “Saab has put an offer on the table for the Gripen. Boeing is about to with the F/A-18 and BAE with the [Eurofighter] Typhoon won’t be far behind. I imagine the French and probably the Russians are doing the same. We hope it’s about leasing and a purchase later on,” an executive said.
“Everybody thinks that whatever Malaysia leases will eventually become the long-term solution because the Air Force will have already invested in infrastructure items like bases, spares and training,” Teal Group analyst Richard Aboulafia reckons that Saab’s experience in fighter leasing could give it the edge in Malaysia.
“They have planes to spare, they know how to structure this kind of deal and have a good presence in the region,” he said.
Neighboring Thailand is operating the Gripen, having purchased 12 of the single-engine combat jets.
The current leasing arrangements involve Saab upgrading spare Swedish Air Force Gripen C and D models. It’s likely that a similar formula is being offered to Malaysia.
The Swedish company submitted its leasing option as long ago as 2012. Rival bidders were dismissive of the move at the time, but now, everybody is following Saab’s initiative.
http://www.defensenews.com/article/20140215/DEFREG03/302150021/Cash-Strapped-Malaysia-Looks-Lease-Fighters?odyssey=mod_sectionstories
โครงการแข่งขันจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ของมาเลเซียอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการใหม่หลังจากที่หยุดชงักมาหลายปีเนื่องจากปัญหาด้านงบประมาณและด้านการเมืองของรัฐบาล
ซึ่งผู็เข้าแข่งขันทั้ง Boeing, BAE Systems และ SAAB ต่างกำลังพิจารณาความเป็นไปได้ในเปลี่ยนสัญญาจากการจัดซื้อเป็นการเช่าเครื่องแทน
ซึ่งตรงนี้ SAAB อาจจะดูมีข้อได้เปรียบด้านประสบการณ์ในการให้เครื่อง Gripen เช่าแก่กองทัพอากาศเชคมาสองระยะต่อเนื่องแล้ว โดย SAAB เสนอแนวทางนี้ให้มาเลเซียตั้งแต่ปี 2012
แต่สำหรับ F/A-18E/F ของ Boeing และ Typhoon ของ BAE ก็อาจจะจำเป็นต้องพิจารณาแนวทางนี้เช่นกันถ้าไม่อยากเสียบเปรียบการแข่งขัน
อย่างไรก็ตามสำหรับ Rafale ของ Dassualt และ Sukhoi ของรัสเซียยังเงียบกับแนวคิดนี้ แต่ก็หวังว่าจะเปลี่ยนเป็นการเช่าซื้อได้ภายหลัง
อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ยังเป็นแผนการในระยะยาวซึ่งรูปแบบและรายละเอียดสามารถจะเปลี่ยนแปลงได้อีกครับ
SINGAPORE — Malaysia’s proposed purchase of fighter jets has switched from a procurement competition to a leasing competition due to affordability issues, according to industry executives.
The Malaysian government put its multirole combat aircraft program in the freezer last year for fiscal and political reasons. Now Boeing, BAE Systems and Saab have, or are about to, submit leasing proposals in the hope of making a deal palatable. An industry executive asked whether Malaysia has the political will to make any kind of selection at this time, leasing or otherwise. “Saab has put an offer on the table for the Gripen. Boeing is about to with the F/A-18 and BAE with the [Eurofighter] Typhoon won’t be far behind. I imagine the French and probably the Russians are doing the same. We hope it’s about leasing and a purchase later on,” an executive said.
“Everybody thinks that whatever Malaysia leases will eventually become the long-term solution because the Air Force will have already invested in infrastructure items like bases, spares and training,” Teal Group analyst Richard Aboulafia reckons that Saab’s experience in fighter leasing could give it the edge in Malaysia.
“They have planes to spare, they know how to structure this kind of deal and have a good presence in the region,” he said.
Neighboring Thailand is operating the Gripen, having purchased 12 of the single-engine combat jets.
The current leasing arrangements involve Saab upgrading spare Swedish Air Force Gripen C and D models. It’s likely that a similar formula is being offered to Malaysia.
The Swedish company submitted its leasing option as long ago as 2012. Rival bidders were dismissive of the move at the time, but now, everybody is following Saab’s initiative.
http://www.defensenews.com/article/20140215/DEFREG03/302150021/Cash-Strapped-Malaysia-Looks-Lease-Fighters?odyssey=mod_sectionstories
โครงการแข่งขันจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ของมาเลเซียอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการใหม่หลังจากที่หยุดชงักมาหลายปีเนื่องจากปัญหาด้านงบประมาณและด้านการเมืองของรัฐบาล
ซึ่งผู็เข้าแข่งขันทั้ง Boeing, BAE Systems และ SAAB ต่างกำลังพิจารณาความเป็นไปได้ในเปลี่ยนสัญญาจากการจัดซื้อเป็นการเช่าเครื่องแทน
ซึ่งตรงนี้ SAAB อาจจะดูมีข้อได้เปรียบด้านประสบการณ์ในการให้เครื่อง Gripen เช่าแก่กองทัพอากาศเชคมาสองระยะต่อเนื่องแล้ว โดย SAAB เสนอแนวทางนี้ให้มาเลเซียตั้งแต่ปี 2012
แต่สำหรับ F/A-18E/F ของ Boeing และ Typhoon ของ BAE ก็อาจจะจำเป็นต้องพิจารณาแนวทางนี้เช่นกันถ้าไม่อยากเสียบเปรียบการแข่งขัน
อย่างไรก็ตามสำหรับ Rafale ของ Dassualt และ Sukhoi ของรัสเซียยังเงียบกับแนวคิดนี้ แต่ก็หวังว่าจะเปลี่ยนเป็นการเช่าซื้อได้ภายหลัง
อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ยังเป็นแผนการในระยะยาวซึ่งรูปแบบและรายละเอียดสามารถจะเปลี่ยนแปลงได้อีกครับ
วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
กองทัพอากาศไทยเปิดสายการผลิต บ.ทอ.๖ ระยะที่๑
พิธีเปิดสายการผลิต บ.ทอ.๖ ระยะที่ ๑
กองทัพอากาศ กำหนดจัดพิธีเปิดสายการผลิต บ.ทอ.๖ ระยะที่ ๑ โดยมี พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ เป็นประธานในพิธีฯ ในวันพุธที่ ๑๙
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เวลา ๐๙๓๐ ณ กรมช่างอากาศ บางซื่อ (ขออย่าให้มีเหตุต้องเลื่อนวัน)
กรมช่างอากาศ มีขีดความสามารถในการวิจัย พัฒนา และสร้างเครื่องบินเพื่อใช้งาน โดยเฉพาะเครื่องบินฝึก/ธุรการ ซึ่งได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง จนมีผลงานวิจัยที่
สามารถพัฒนาเข้าสู่สายการผลิตได้ คือ บ.ทอ.๖
ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ปี ๒๕๕๑ – ๒๕๖๒ (ฉบับปรับปรุงปี ๒๕๕๒) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ ได้กำหนดกลยุทธ์ให้มีการสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือเชิงวิจัยและพัฒนากิจการการบินและอุตสาหกรรมการบิน และกิจการเกี่ยวข้องเนื่องในด้านการบินของประเทศ
นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ปี ๒๕๕๖ นโยบายเร่งด่วน ข้อ ๙ นำผลการวิจัยและพัฒนา บ.ทอ.๖ เข้าสู่สายการผลิต เพื่อใช้เป็นเครื่องบินฝึก/ธุรการ และพิจารณาการ
ติดตั้งกล้องพร้อมระบบ Video Down Link (VDL) ที่ได้จากการวิจัย เพื่อให้สามารถใช้เป็นเครื่องบินลาดตระเวนทางอากาศ ของกองทัพอากาศ และต่างเหล่าทัพในอนาคต
โดยจัดให้มีแผนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
โครงการผลิต บ.ทอ.๖ จำนวน ๒๕ เครื่อง เป็นโครงการผูกพันระยะเวลาดำเนินการ ๖ ปี วง
เงินงบประมาณ จำนวน ๓,๔๐๐,๐๐๐,๐๐๐.-บาท แบ่งโครงการเป็น ๓ ระยะ โดยในระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ จะดำเนินการผลิตจำนวน ๓ เครื่อง
โดย รัชต์ รัตนวิจารณ์
Page ทางการของ บ.ทอ.๖
https://www.facebook.com/rtaf6
บ.ทอ.๖ เป็นโครงการพัฒนาเครื่องบินฝึกใบพัดด้วยตนเองของกองทัพอากาศที่มีมาต่อเนื่องยาวนาน
(ตั้งแต่มีแนวคิดราวปี ๒๕๔๘ จนถึงสร้าง บ.ชอ.๒ ที่ทำวิศวกรรมย้อนกลับจาก บ.ฝ.๑๕ SF.260MT บินในปี ๒๕๕๐)
บ.ชอ.๒
นับตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่๒ เป็นต้นมากองทัพอากาศก็ได้ดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาสร้างเครื่องบินด้วยตนเองมาตลอดหลายโครงการ
บ้างก็ประสบความสำเร็จ เช่น บ.ฝ.๑๗ จันทรา
http://www.encyclopediathai.org/aircraft/Trainer/chantra/chantra.htm
บ้างก็ประสบความล้มเหลว เช่น Fantrainer
http://www.encyclopediathai.org/aircraft/Trainer/Fantrainer/Fantrainer600.htm
สำหรับ บ.ทอ.๖ ที่จะทำการผลิตในระยะที่๑ จำนวน ๓เครื่องนั้นจะเป็นเครื่องในระดับ Pre-Production Prototype
ซึ่งจะเป็นต้นแบบของเครื่องที่จะอยู่ในสายการผลิตจริงระยะที่๒ และระยะที่๓ ตามมาอีก ๒๒ลำ ภายในระยะเวลา ๖ปี
ส่วนตัวมองว่าหลายปีที่ผ่านมาถึงจะล่าช้าไปพอสมควรแต่โครงการ บ.ทอ.๖ ก็มาได้ไกลระดับหนึ่งแล้ว
แต่การที่เครื่องบินฝึกแบบนี้จะต่อยอดไปในระดับต่างๆที่วางไว้นั้นต้องอาศัยปัจจัยหลายๆอย่างอีกมากครับ
อย่างการทำเป็นเครื่องลาดตระเวนทางอากาศติดกล้อง หรือผลิตให้ต่างเหล่าทัพ จนถึงส่งออกต่างประเทศนั้นเป็นเรื่องที่ยังห่างไกลอีกมาก
เราคงต้องหวังเสียก่อนว่าเครื่อง Pre-Production Prototype ที่จะผลิต ๓ลำในช่วงงบประมาณปี ๒๕๕๗-๒๕๕๙
จะประสบความสำเร็จเสียก่อน จนเข้าสู่ขั้นสายการผลิตแบบ Mass-Production ในระยะที่๒ และระยะที่๓ ถัดไปด้วยครับ
กองทัพอากาศ กำหนดจัดพิธีเปิดสายการผลิต บ.ทอ.๖ ระยะที่ ๑ โดยมี พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ เป็นประธานในพิธีฯ ในวันพุธที่ ๑๙
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เวลา ๐๙๓๐ ณ กรมช่างอากาศ บางซื่อ (ขออย่าให้มีเหตุต้องเลื่อนวัน)
กรมช่างอากาศ มีขีดความสามารถในการวิจัย พัฒนา และสร้างเครื่องบินเพื่อใช้งาน โดยเฉพาะเครื่องบินฝึก/ธุรการ ซึ่งได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง จนมีผลงานวิจัยที่
สามารถพัฒนาเข้าสู่สายการผลิตได้ คือ บ.ทอ.๖
ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ปี ๒๕๕๑ – ๒๕๖๒ (ฉบับปรับปรุงปี ๒๕๕๒) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ ได้กำหนดกลยุทธ์ให้มีการสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือเชิงวิจัยและพัฒนากิจการการบินและอุตสาหกรรมการบิน และกิจการเกี่ยวข้องเนื่องในด้านการบินของประเทศ
นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ปี ๒๕๕๖ นโยบายเร่งด่วน ข้อ ๙ นำผลการวิจัยและพัฒนา บ.ทอ.๖ เข้าสู่สายการผลิต เพื่อใช้เป็นเครื่องบินฝึก/ธุรการ และพิจารณาการ
ติดตั้งกล้องพร้อมระบบ Video Down Link (VDL) ที่ได้จากการวิจัย เพื่อให้สามารถใช้เป็นเครื่องบินลาดตระเวนทางอากาศ ของกองทัพอากาศ และต่างเหล่าทัพในอนาคต
โดยจัดให้มีแผนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
โครงการผลิต บ.ทอ.๖ จำนวน ๒๕ เครื่อง เป็นโครงการผูกพันระยะเวลาดำเนินการ ๖ ปี วง
เงินงบประมาณ จำนวน ๓,๔๐๐,๐๐๐,๐๐๐.-บาท แบ่งโครงการเป็น ๓ ระยะ โดยในระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ จะดำเนินการผลิตจำนวน ๓ เครื่อง
โดย รัชต์ รัตนวิจารณ์
https://www.facebook.com/rtaf6
บ.ทอ.๖ เป็นโครงการพัฒนาเครื่องบินฝึกใบพัดด้วยตนเองของกองทัพอากาศที่มีมาต่อเนื่องยาวนาน
(ตั้งแต่มีแนวคิดราวปี ๒๕๔๘ จนถึงสร้าง บ.ชอ.๒ ที่ทำวิศวกรรมย้อนกลับจาก บ.ฝ.๑๕ SF.260MT บินในปี ๒๕๕๐)
บ.ชอ.๒
นับตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่๒ เป็นต้นมากองทัพอากาศก็ได้ดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาสร้างเครื่องบินด้วยตนเองมาตลอดหลายโครงการ
บ้างก็ประสบความสำเร็จ เช่น บ.ฝ.๑๗ จันทรา
http://www.encyclopediathai.org/aircraft/Trainer/chantra/chantra.htm
บ้างก็ประสบความล้มเหลว เช่น Fantrainer
http://www.encyclopediathai.org/aircraft/Trainer/Fantrainer/Fantrainer600.htm
สำหรับ บ.ทอ.๖ ที่จะทำการผลิตในระยะที่๑ จำนวน ๓เครื่องนั้นจะเป็นเครื่องในระดับ Pre-Production Prototype
ซึ่งจะเป็นต้นแบบของเครื่องที่จะอยู่ในสายการผลิตจริงระยะที่๒ และระยะที่๓ ตามมาอีก ๒๒ลำ ภายในระยะเวลา ๖ปี
ส่วนตัวมองว่าหลายปีที่ผ่านมาถึงจะล่าช้าไปพอสมควรแต่โครงการ บ.ทอ.๖ ก็มาได้ไกลระดับหนึ่งแล้ว
แต่การที่เครื่องบินฝึกแบบนี้จะต่อยอดไปในระดับต่างๆที่วางไว้นั้นต้องอาศัยปัจจัยหลายๆอย่างอีกมากครับ
อย่างการทำเป็นเครื่องลาดตระเวนทางอากาศติดกล้อง หรือผลิตให้ต่างเหล่าทัพ จนถึงส่งออกต่างประเทศนั้นเป็นเรื่องที่ยังห่างไกลอีกมาก
เราคงต้องหวังเสียก่อนว่าเครื่อง Pre-Production Prototype ที่จะผลิต ๓ลำในช่วงงบประมาณปี ๒๕๕๗-๒๕๕๙
จะประสบความสำเร็จเสียก่อน จนเข้าสู่ขั้นสายการผลิตแบบ Mass-Production ในระยะที่๒ และระยะที่๓ ถัดไปด้วยครับ
อินโดนีเซียลงนามร่วมกับตุรกีพัฒนารถถังขนาดกลางของตนเอง
Turkey and Indonesia to develop medium tank
http://www.janes.com/article/33827/turkey-and-indonesia-to-develop-medium-tank
บริษัท FNSS Savunma Sistemleri ตุรกี ได้ลงนามข้อตกลงร่วมกับบริษัท PT Pindad ของอินโดนีเซีย
ในการพัฒนารถถังขนาดกลางร่วมกันสำหรับกองทัพบกอินโดนีเซีย
ขณะนี้ยังไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดแบบแผนของรถถังดังกล่าวออกมา แต่คุณสมบัติที่ออกแบบไว้ขั้นต้น
รถถังแบบนี้จะมีน้ำหนักประมาณ 25tons ติดปืนใหญ่รถถังขนาด 105mm ปืนกลร่วมแกน 7.62mm และควบคุมการยิงด้วย Computer ครับ
แบบจำลองสามมิติแสดงแนวคิดของรถถังกลาง
http://www.janes.com/article/33827/turkey-and-indonesia-to-develop-medium-tank
บริษัท FNSS Savunma Sistemleri ตุรกี ได้ลงนามข้อตกลงร่วมกับบริษัท PT Pindad ของอินโดนีเซีย
ในการพัฒนารถถังขนาดกลางร่วมกันสำหรับกองทัพบกอินโดนีเซีย
ขณะนี้ยังไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดแบบแผนของรถถังดังกล่าวออกมา แต่คุณสมบัติที่ออกแบบไว้ขั้นต้น
รถถังแบบนี้จะมีน้ำหนักประมาณ 25tons ติดปืนใหญ่รถถังขนาด 105mm ปืนกลร่วมแกน 7.62mm และควบคุมการยิงด้วย Computer ครับ
แบบจำลองสามมิติแสดงแนวคิดของรถถังกลาง
วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
General Dynamics แคนาดาชนะการจัดหารถหุ้มเกราะเบาของซาอุดิอาระเบีย
http://www.reuters.com/article/2014/02/14/generaldynamics-canada-saudi-idUSL2N0LJ13E20140214
General Dynamics ได้เปิดเผยถึงการลงนามสัญญาจัดหาอาวุธของบริษัทสาขาแคนาดากับประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง
ถึงแม้ทาง General Dynamics จะไม่เปิดเผยรายละเอียด แต่รัฐมนตรีกระทรวงการค้าของแคนานดาได้ออกมาเปิดเผยว่าเป็นซาอุดิอาระเบีย
ซึ่งซาอุดิอาระเบียจะจัดหารถหุ้มเกราะเบา LAV ในวงเงิน $13 billion ซึ่งจะสร้างงานให้ชาวแคนาดาถึง 3,000ตำแหน่ง นับเป็นการส่งออกอาวุธที่ใหญ่ที่สุดในรอบหลายปีของแคนาดา
General Dynamics ยังมีการแข่งขันประมูลในระดับนานาชาติอีกหลายโครงการเช่นของโมร็อกโคด้วยครับ
General Dynamics ได้เปิดเผยถึงการลงนามสัญญาจัดหาอาวุธของบริษัทสาขาแคนาดากับประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง
ถึงแม้ทาง General Dynamics จะไม่เปิดเผยรายละเอียด แต่รัฐมนตรีกระทรวงการค้าของแคนานดาได้ออกมาเปิดเผยว่าเป็นซาอุดิอาระเบีย
ซึ่งซาอุดิอาระเบียจะจัดหารถหุ้มเกราะเบา LAV ในวงเงิน $13 billion ซึ่งจะสร้างงานให้ชาวแคนาดาถึง 3,000ตำแหน่ง นับเป็นการส่งออกอาวุธที่ใหญ่ที่สุดในรอบหลายปีของแคนาดา
General Dynamics ยังมีการแข่งขันประมูลในระดับนานาชาติอีกหลายโครงการเช่นของโมร็อกโคด้วยครับ
วันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
กองทัพอากาศอังกฤษระงับการบินเครื่องบินโดยสาร Voyager
http://www.bbc.co.uk/news/uk-26157641
BBC ได้รับรายงานจากกระทรวงกลาโหมอังกฤษว่าขณะที่เครื่องบินโดยสารแบบ Voyager ของกองทัพอากาศอังกฤษกำลังเดินทางนำทหารอังกฤษกลับจากอัฟกานิสถานนั้น
เครื่องได้เกิดเสียระดับความสูงหลายพัน feet อย่างรวดเร็วจนต้องลงจอดฉุกเฉินที่ฐานทัพอากาศ Incirlik ของสหรัฐฯในตุรกี
โดยกำลังพลในเครื่อง 200นาย มีบางส่วนได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย กองทัพอากาศอังกฤษได้สั่งระงับการบินของเครื่อง Voyager ทั้งหมดทันทีหลังเหตุการณ์
เครื่องบินโดยสาร Voyager ของกองทัพอากาศอังกฤษเป็นเครื่อง Airbus A330 MRTT จัดหามาจำนวน 14เครื่องวงเงิน 10 billion Pound
เพื่อทดแทนเครื่อง VC-10 ในภารกิจลำเลียงขนส่งกำลังพลและเติมเชื้อเพลิงทางอากาศ โดย6เครื่องแรกเพิ่งเข้าประจำการในปี 2013 ครับ
BBC ได้รับรายงานจากกระทรวงกลาโหมอังกฤษว่าขณะที่เครื่องบินโดยสารแบบ Voyager ของกองทัพอากาศอังกฤษกำลังเดินทางนำทหารอังกฤษกลับจากอัฟกานิสถานนั้น
เครื่องได้เกิดเสียระดับความสูงหลายพัน feet อย่างรวดเร็วจนต้องลงจอดฉุกเฉินที่ฐานทัพอากาศ Incirlik ของสหรัฐฯในตุรกี
โดยกำลังพลในเครื่อง 200นาย มีบางส่วนได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย กองทัพอากาศอังกฤษได้สั่งระงับการบินของเครื่อง Voyager ทั้งหมดทันทีหลังเหตุการณ์
เครื่องบินโดยสาร Voyager ของกองทัพอากาศอังกฤษเป็นเครื่อง Airbus A330 MRTT จัดหามาจำนวน 14เครื่องวงเงิน 10 billion Pound
เพื่อทดแทนเครื่อง VC-10 ในภารกิจลำเลียงขนส่งกำลังพลและเติมเชื้อเพลิงทางอากาศ โดย6เครื่องแรกเพิ่งเข้าประจำการในปี 2013 ครับ
วันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ปากีสถานขายเครื่องบินฝึก Super Mushshak ให้อิรัก
Pakistan to train Iraqi air force, provide air craft
By Web Desk Published: February 10, 2014
prime Minister Nawaz Sharif witnessing an agreement signing between Pakistan Air Force and Iraq Air Force at PM House on Monday, February 10, 2014. PHOTO: PID
ISLAMABAD: Pakistan on Monday agreed to provide training aircraft Super Mushshak to Iraq in addition to training the Iraq Air Defense Force personnel in modern air warfare.
During a meeting at PM House with Commander Iraqi Air Force General Anwer Hamad Ameen Ahmad Ahmed on Monday, Prime Minister Nawaz Sharif said that Pakistan would provide assistance to Iraq in fields of training and development.
The premier said Pakistan Air Force (PAF) has a rich experience in training personnel’s of friendly countries and it would assist in developing Iraqi Air Force on modern grounds.
Federal Minister for Defense Production Rana Tanvir Hussain and Chief of Air Staff Air Marshal Tahir Rafique Butt were also present at the occasion.
At the occasion PAF and Irqai Air Force signed two agreements. According to the first agreement PAF would provide training to Iraq Air Defense Force personnel, in all sphere of modern air force concept pertaining to different field special air defence, and air crew.
According to the second agreement Pakistan would also provide Super Mushshak Aircraft to Iraq.
http://tribune.com.pk/story/669942/pakistan-to-train-iraqi-air-force-provide-air-craft/
ปากีสถานได้ลงนามสัญญากับอิรักในด้านการฝึกกำลังพลของกองทัพอากาศอิรัก และการขายเครื่องบินฝึกแบบ Super Mushshak ให้อิรัก
ซึ่งปากีสถานได้กล่าวว่ากองทัพอากาศปากีสถานมีประสบการณ์สูงและพร้อมจะให้ความช่วยเหลือมิตรประเทศเช่นอิรักในการพัฒนากองทัพอากาศให้ทันสมัยขึ้น
MFI-395 Super Mushshak เป็นเครื่องบินฝึกใบพัดขั้นประถมผลิตโดย Pakistan Aeronautical Complex
เข้าประจำการในกองทัพอากาศปากีสถานตั้งแต่ปี 1996 จำนวน 20เครื่อง และประจำการในกองทัพอากาศซาอุดิอาระเบียด้วย 20เครื่อง
แต่ทั้งนี้ยังไม่ทราบจำนวนว่ากองทัพอากาศอิรักจะจัดหา Super Mushshak กี่เครื่องครับ
By Web Desk Published: February 10, 2014
prime Minister Nawaz Sharif witnessing an agreement signing between Pakistan Air Force and Iraq Air Force at PM House on Monday, February 10, 2014. PHOTO: PID
ISLAMABAD: Pakistan on Monday agreed to provide training aircraft Super Mushshak to Iraq in addition to training the Iraq Air Defense Force personnel in modern air warfare.
During a meeting at PM House with Commander Iraqi Air Force General Anwer Hamad Ameen Ahmad Ahmed on Monday, Prime Minister Nawaz Sharif said that Pakistan would provide assistance to Iraq in fields of training and development.
The premier said Pakistan Air Force (PAF) has a rich experience in training personnel’s of friendly countries and it would assist in developing Iraqi Air Force on modern grounds.
Federal Minister for Defense Production Rana Tanvir Hussain and Chief of Air Staff Air Marshal Tahir Rafique Butt were also present at the occasion.
At the occasion PAF and Irqai Air Force signed two agreements. According to the first agreement PAF would provide training to Iraq Air Defense Force personnel, in all sphere of modern air force concept pertaining to different field special air defence, and air crew.
According to the second agreement Pakistan would also provide Super Mushshak Aircraft to Iraq.
http://tribune.com.pk/story/669942/pakistan-to-train-iraqi-air-force-provide-air-craft/
ปากีสถานได้ลงนามสัญญากับอิรักในด้านการฝึกกำลังพลของกองทัพอากาศอิรัก และการขายเครื่องบินฝึกแบบ Super Mushshak ให้อิรัก
ซึ่งปากีสถานได้กล่าวว่ากองทัพอากาศปากีสถานมีประสบการณ์สูงและพร้อมจะให้ความช่วยเหลือมิตรประเทศเช่นอิรักในการพัฒนากองทัพอากาศให้ทันสมัยขึ้น
MFI-395 Super Mushshak เป็นเครื่องบินฝึกใบพัดขั้นประถมผลิตโดย Pakistan Aeronautical Complex
เข้าประจำการในกองทัพอากาศปากีสถานตั้งแต่ปี 1996 จำนวน 20เครื่อง และประจำการในกองทัพอากาศซาอุดิอาระเบียด้วย 20เครื่อง
แต่ทั้งนี้ยังไม่ทราบจำนวนว่ากองทัพอากาศอิรักจะจัดหา Super Mushshak กี่เครื่องครับ
วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ปากีสถานจะลงนามจัดหาเรือดำน้ำจากจีนภายในสิ้นปี2014
China, Pakistan set for submarine deal by end of year, say officials
Farhan Bokhari, Islamabad - IHS Jane's Defence Weekly
02 February 2014
Pakistan's submarine fleet currently comprises Agosta 90B boats (second-of-class Saad is pictured) and ageing Agosta 70 vessels. Source: DCNS
Pakistan could sign a deal to buy up to six submarines from China before the end of 2014, senior Pakistani government officials have told IHS Jane's .
A Pakistani government minister revealed in March 2011 that China had offered to sell up to six submarines to Pakistan although he did not specify details of the boats on offer. Western officials in Islamabad suggest that China's subsequent international marketing of the 'S20' or Yuan-class diesel-electric submarine (SSK) suggests it could be a potential option for Pakistan.
A senior Pakistani government official told IHS Jane's that "the technical details are almost done. The present discussions are mainly about the financing details". A second Pakistani government official confirmed that "the contract is in an advanced stage and discussions will not linger on for too long. Realistically, we should have a deal by end 2014".
The submarine contract would further cement China's rapidly growing role as the main supplier of military hardware to Pakistan's armed forces and fill an important gap in Pakistan Navy (PN) capabilities. The PN is known to operate five French submarines: three Agosta 90B (Khalid-class) submarines purchased in the 1990s and two ageing Agosta 70 (Hashmat-class) boats dating from the late 1970s. In 2009, the PN sought to purchase three German-built Type 214 submarines, but the plan was put on hold due to costs that at the time were reported to be in excess of USD2 billion.
Recent Sino-Pakistan contracts of potential interest to Islamabad's strategic interests include China's agreement to provide two large civil nuclear reactors to be based close to Karachi. According to Pakistani officials China's Eximbank agreed to extend a USD6.5 billion loan for the two reactors.
Additionally, the Sino-Pakistani-built JF-17 Thunder fighter aircraft is reportedly the subject of talks between Pakistan and Saudi Arabia: a potential deal that Western officials said would not be discussed without Beijing's explicit consent.
COMMENT
A Sino-Pakistan submarine contract will be closely watched by Western officials for any signs that may suggest progression towards nuclear-powered boats. Pakistan's defence planners consider the absence of such a platform - which they would eventually want to see armed with submarine-launched nuclear ballistic missiles - as major disadvantage in a potential conflict with India.
However, Western officials believe China will hesitate to extend such advanced technology to Pakistan given the potential for a harsh reaction from the United States and its allies.
China's international marketing of the 'S20' or Yuan-class SSK suggests it could be a potential option for Pakistan. (Robert Foster)
http://www.janes.com/article/33315/china-pakistan-set-for-submarine-deal-by-end-of-year-say-officials
รัฐบาลปากีสถานได้ให้ข้อมูลกับ Jane's ว่า ปากีสถานอาจจะลงนามสัญญาจัดหาเรือดำน้ำ 6ลำจากจีนภายในสิ้นปี 2014นี้
โดยในปี 2011 จีนไดเเสนอขายเรือดำน้ำ 6ลำให้ปากดีสถานแต่ไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดของตัวเรือ
แต่นักวิเคราะห์คาดว่าน่าจะเป็นเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าแบบ S20 หรือรุ่นส่งออกที่พัฒนาจากเรือชั้น Yuan
ทั้งนั้เจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาลปากีถานได้กล่าวว่ารายละเอียดโครงการด้านทางTechnicส่วนใหญ่เสร็จสิ้นแล้ว รายละเอียดในปัจจุบันเป็นเรื่องด้านการเงิน
ปัจจุบันกองทัพเรือปากีสถานมีเรือดำน้ำฝรั่งเศสคือ Agosta 90B 3ลำที่จัดหาในช่วงปี 1990s ซึ่ง2ลำสร้างในปากีถาน และ Agosta 70 2ลำ ที่จัดหาในช่วงปี 1970s
ในปี 2009 ปากีสถานมีแผนจะจัดหาเรือดำน้ำ U214 จากเยอรมนี 3ลำแต่ระงับไปเพราะต้องใช้งบประมาณสูงมากกว่า $2 billion
ทั้งนี้ยังมีข้อสังเกตุว่าปากีสถานอาจจะต้องการเรือดำน้ำนิวเคลียร์ในอนาคตเพื่อคานอำนาจกับอินเดียซึ่งมีเรือดำน้ำนิวเคลียร์ประจำการแล้วด้วยครับ
Farhan Bokhari, Islamabad - IHS Jane's Defence Weekly
02 February 2014
Pakistan's submarine fleet currently comprises Agosta 90B boats (second-of-class Saad is pictured) and ageing Agosta 70 vessels. Source: DCNS
Pakistan could sign a deal to buy up to six submarines from China before the end of 2014, senior Pakistani government officials have told IHS Jane's .
A Pakistani government minister revealed in March 2011 that China had offered to sell up to six submarines to Pakistan although he did not specify details of the boats on offer. Western officials in Islamabad suggest that China's subsequent international marketing of the 'S20' or Yuan-class diesel-electric submarine (SSK) suggests it could be a potential option for Pakistan.
A senior Pakistani government official told IHS Jane's that "the technical details are almost done. The present discussions are mainly about the financing details". A second Pakistani government official confirmed that "the contract is in an advanced stage and discussions will not linger on for too long. Realistically, we should have a deal by end 2014".
The submarine contract would further cement China's rapidly growing role as the main supplier of military hardware to Pakistan's armed forces and fill an important gap in Pakistan Navy (PN) capabilities. The PN is known to operate five French submarines: three Agosta 90B (Khalid-class) submarines purchased in the 1990s and two ageing Agosta 70 (Hashmat-class) boats dating from the late 1970s. In 2009, the PN sought to purchase three German-built Type 214 submarines, but the plan was put on hold due to costs that at the time were reported to be in excess of USD2 billion.
Recent Sino-Pakistan contracts of potential interest to Islamabad's strategic interests include China's agreement to provide two large civil nuclear reactors to be based close to Karachi. According to Pakistani officials China's Eximbank agreed to extend a USD6.5 billion loan for the two reactors.
Additionally, the Sino-Pakistani-built JF-17 Thunder fighter aircraft is reportedly the subject of talks between Pakistan and Saudi Arabia: a potential deal that Western officials said would not be discussed without Beijing's explicit consent.
COMMENT
A Sino-Pakistan submarine contract will be closely watched by Western officials for any signs that may suggest progression towards nuclear-powered boats. Pakistan's defence planners consider the absence of such a platform - which they would eventually want to see armed with submarine-launched nuclear ballistic missiles - as major disadvantage in a potential conflict with India.
However, Western officials believe China will hesitate to extend such advanced technology to Pakistan given the potential for a harsh reaction from the United States and its allies.
China's international marketing of the 'S20' or Yuan-class SSK suggests it could be a potential option for Pakistan. (Robert Foster)
http://www.janes.com/article/33315/china-pakistan-set-for-submarine-deal-by-end-of-year-say-officials
รัฐบาลปากีสถานได้ให้ข้อมูลกับ Jane's ว่า ปากีสถานอาจจะลงนามสัญญาจัดหาเรือดำน้ำ 6ลำจากจีนภายในสิ้นปี 2014นี้
โดยในปี 2011 จีนไดเเสนอขายเรือดำน้ำ 6ลำให้ปากดีสถานแต่ไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดของตัวเรือ
แต่นักวิเคราะห์คาดว่าน่าจะเป็นเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าแบบ S20 หรือรุ่นส่งออกที่พัฒนาจากเรือชั้น Yuan
ทั้งนั้เจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาลปากีถานได้กล่าวว่ารายละเอียดโครงการด้านทางTechnicส่วนใหญ่เสร็จสิ้นแล้ว รายละเอียดในปัจจุบันเป็นเรื่องด้านการเงิน
ปัจจุบันกองทัพเรือปากีสถานมีเรือดำน้ำฝรั่งเศสคือ Agosta 90B 3ลำที่จัดหาในช่วงปี 1990s ซึ่ง2ลำสร้างในปากีถาน และ Agosta 70 2ลำ ที่จัดหาในช่วงปี 1970s
ในปี 2009 ปากีสถานมีแผนจะจัดหาเรือดำน้ำ U214 จากเยอรมนี 3ลำแต่ระงับไปเพราะต้องใช้งบประมาณสูงมากกว่า $2 billion
ทั้งนี้ยังมีข้อสังเกตุว่าปากีสถานอาจจะต้องการเรือดำน้ำนิวเคลียร์ในอนาคตเพื่อคานอำนาจกับอินเดียซึ่งมีเรือดำน้ำนิวเคลียร์ประจำการแล้วด้วยครับ
วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
SAAB ยืนยันการพัฒนา Gripen F สองที่นั่งสำหรับบราซิล
Saab confirms twin-seat Gripen F development for Brazil
Janet Tappin Coelho, Rio de Janeiro - IHS Jane's Defence Weekly
04 February 2014
Saab has confirmed to IHS Jane's that Brazil's aerospace industry will be given the opportunity to develop a two-seater version of the Gripen NG as part of the USD4.5 million consignment of 36 fighter aircraft ordered by the country.
At a meeting on 30 January with Brazilian aerospace industry experts and representatives from Sao Bernardo do Campo in Sao Paulo, the vice-president of Saab, Dan Jangblad, discussed Brazil's participation in the production of the two-seater Gripen F model.
Out of the 36 fighter jets under the FAB F-X2 programme, eight of the aircraft will be twin-seat Gripen Fs and the rest will be in the single-seat Gripen Es.
http://www.janes.com/article/33428/saab-confirms-twin-seat-gripen-f-development-for-brazil
Saab ยืนยันกับ Jane's ว่าอุตสหกรรมอากาศยานของบราซิลจะได้รับโอกาสในการพัฒนา Gripen F รุ่นสองที่นั่ง
ซึ่ง Gripen E/F เป็นผู้ชนะในโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ F-X2 ของบราซิล
โดยเครื่องที่จะจัดหาทั้งหมด 36เครื่องจะมีรุ่น Gripen F สองที่นั่ง 8เครื่องครับ
วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
DCNS จะเปิดตัวแบบเรือบรรทุกเครื่องบินใหม่
DCNS To Unveil New Future Aircraft Carrier Design At Defexpo 2014
The Evolved Aircraft Carrier (DEAC) is based on French Navy CVN Charles de Gaulle’s combat proven design and aviation system and is compatible with all CTOL aircrafts (including Airborne Early Warning aircraft) and features the latest technologies including cutting-edge Combat System (SETIS), UAV integration, advanced conventional propulsion and state-of-the-art platform stabilisation system (SATRAP/COGITE).
In addition to the design, DCNS offers customised transfer of technology, material packages, dedicated infrastructures development (i.e. naval base and construction/maintenance shipyard) as well as life support solutions.
http://www.defenseworld.net/news/9951/DCNS_To_Unveil_New_Future_Aircraft_Carrier_Design_At_Defexpo_2014#.UvEkZhBdX15
ในงาน Defexpo 2014 ที่อินเดีย บริษัท DCNC จะเปิดตัวแบบเรือบรรทุกเครื่องบินใหม่ Evolved Aircraft Carrier (DEAC) ซึ่งมีพื้นฐานจากเรือ Charles de Gaulle
โดยแบบเรือบรรทุกเครื่องนี้จะเป็นเรือที่รองรับปฏิบัติของเครื่องบินขึ้นลงตามแบบทุกแบบตั้งแต่เครื่องบินขับไล่จนถึงเครื่องบินแจ้งเตือนทางอากาศ
ติดตั้งระบบอำนวยการรบ SETIS, UAV, ระบบขับเคลื่อนตามแบบและระบบรักษาความเสถียรขั้นก้าวหน้า SATRAP/COGITE และระบบขั้นสูงอีกหลายระบบ
DCNS ยังเสนอการถ่ายทอด Technology ชุดวัสดุ และระบบสนับสนุนการพัฒนาการก่อสร้าง ให้ลูกค้าตลอดอายุการใช้งานด้วยครับ
The Evolved Aircraft Carrier (DEAC) is based on French Navy CVN Charles de Gaulle’s combat proven design and aviation system and is compatible with all CTOL aircrafts (including Airborne Early Warning aircraft) and features the latest technologies including cutting-edge Combat System (SETIS), UAV integration, advanced conventional propulsion and state-of-the-art platform stabilisation system (SATRAP/COGITE).
In addition to the design, DCNS offers customised transfer of technology, material packages, dedicated infrastructures development (i.e. naval base and construction/maintenance shipyard) as well as life support solutions.
http://www.defenseworld.net/news/9951/DCNS_To_Unveil_New_Future_Aircraft_Carrier_Design_At_Defexpo_2014#.UvEkZhBdX15
ในงาน Defexpo 2014 ที่อินเดีย บริษัท DCNC จะเปิดตัวแบบเรือบรรทุกเครื่องบินใหม่ Evolved Aircraft Carrier (DEAC) ซึ่งมีพื้นฐานจากเรือ Charles de Gaulle
โดยแบบเรือบรรทุกเครื่องนี้จะเป็นเรือที่รองรับปฏิบัติของเครื่องบินขึ้นลงตามแบบทุกแบบตั้งแต่เครื่องบินขับไล่จนถึงเครื่องบินแจ้งเตือนทางอากาศ
ติดตั้งระบบอำนวยการรบ SETIS, UAV, ระบบขับเคลื่อนตามแบบและระบบรักษาความเสถียรขั้นก้าวหน้า SATRAP/COGITE และระบบขั้นสูงอีกหลายระบบ
DCNS ยังเสนอการถ่ายทอด Technology ชุดวัสดุ และระบบสนับสนุนการพัฒนาการก่อสร้าง ให้ลูกค้าตลอดอายุการใช้งานด้วยครับ
วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
อิหร่านเตรียมเจรจากับอังกฤษในศาลเพื่อยุติคดีรถถังChieftainเมื่อ35ปีก่อน
http://www.independent.co.uk/news/uk/home-news/iran-sues-mod-firm-over-the-shahs-tanks-9101713.html
รัฐบาลอิหร่านจะเตรียมการเจรจากับบริษัทที่กระกลาโหมอังกฤษเป็นเจ้าของในศาลสูงเพื่อยุติคดีพิพาทการที่อังกฤษไม่ส่งมอบรถถังChieftain เมื่อ35ปีก่อน
โดยขณะนั้นรัฐบาลอิหร่านของพระเจ้าชาห์ได้ส่งจัดหารถถังหลักChieftain จากอังกฤษด้วยวงเงิน 650 million pound
แต่หลังการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงประเทศเป็นสาธารณรัฐอิสลาม ชาติตะวันตกได้คว่ำบาตอิหร่าน
ซึ่งรวมถึงการที่อังกฤษไม่ส่งมอบรถถังChieftain ให้อิหร่านครบตามจำนวน 1,750คัน ที่สั่งซื้อ มีเพียง 185คันเท่านั้นที่อิหร่านได้รับ
อิหร่านจึงต้องการฟ้องร้องศาลให้อังกฤษคืนเงินราว 390-400 million pound ให้อิหร่านครับ
วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วิญญาณผู้พิทักษ์ชายแดน
อยู่กลางดินกินกลางทรายทั้งน้อยใหญ่
เอาป่าเขาลำเนาไพรต่างเคหา
ดวงเดือนเด่เช่นดวงชวาลา
เมฆม่านฟ้าเปรียบเป็นเช่นเพดาน
เมื่อหนาวเหน็บคราวใดให้หนาวเหน็บ
หนาวเจ็บปวดไปในสังขาร
เมื่อรุ่มร้อนร้อนรุ่มสุมดวงมาน
ดังไฟผลาญดวงจิตต์แทบพินท์พัง
เสียงหรีดหริ่งเรไรในไพรพฤกษ์
อึกทึกซ้องแซ่เสียงแตรสังข์
อ้อมกอดดินถวิลไว้ไม่จีรัง
ขุดหลุมฝังกายไว้ใช้หลับนอน
ณ ราตรีครั้งหนึ่งซึ่งมืดมิด
ถูกศัตรูจู่ประชิดจิตขื่นขม
เสียงปืนดังปร้างเปรี้ยงเสียงระงม
ร่างเราล้มถมทับลงดิน
กระสุนผ่านตรงกลางหว่างทรวงอก
โลหิตตกปฐพีชีวีสิ้น
เหลือวิญญาณพวกเราเฝ้าแผ่นดิน
ถึงชื่อสิ้นชาติยังยั่งยืนนาน
วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
รัสเซียส่งมอบระบบป้องกันภัยทางอากาศแก่คาซัคสถานแบบให้เปล่า
ASTANA, January 31 (RIA Novosti) – Russia is set to supply fellow former Soviet nation Kazakhstan with S-300 air defense systems free-of-charge, a top Russian military official said Friday.
Deputy Defense Minister Anatoly Antonov, who was part of a military delegation traveling to the Central Asian state, said five battalions of S-300PS systems would be supplied from the arsenals of the Russian army.
Delivery of the systems will improve protection of Kazakhstan’s airspace as well as strengthen the air defense network of the Moscow-led Collective Security Treaty Organization military alliance, Antonov said.
The S-300PS (SA-10 Grumble) model was introduced to Soviet armed forces in 1985. It features 5V55R missiles with an engagement range of up to 90 kilometers (56 miles) and designed to lock in on a target after launch using an active detection system that steers
the missile directly at the target. An S-300 battalion comprises up to six mobile launchers, according to estimates by military experts.
Kazakhstan reportedly has several S-300 systems deployed, mainly around the capital, Astana.
Moscow signed an agreement to set up an integrated regional air defense network with Kazakhstan last year. Russia has such a network with Belarus, while a similar deal with Armenia has been in the works for some time.
http://en.ria.ru/military_news/20140131/187085953/Russia-to-Give-Kazakhstan-Air-Defense-Systems-Free-of-Charge.html
รองรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมรัสเซีย Anatoly Antonov ได้กล่าวต่อสื่อระหว่างการเยือนประเทศฬนแถบเอเชียกลางว่า
รัสเซียได้ส่งมอบระบบป้องกันภัยทางอากาศ S-300PS 5กองพันจากคลังแสดงกองทัพรัสเซียให้คาซัคสถานแบบให้เปล่า
เพื่อเป็นการกระชัดความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงของทั้งสองประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันภัยทางอากาศ
S-300PS (SA-10 Grumble) เข้าประจำการในกองทัพโซเวียตเมื่อปี 1985 มีระยะยิง 90km หนึ่งกองพันจะมี 6แท่นยิงอัตตาจร
คาซัคสถานเองก็มีระบบ S-300 ประจำการอยู๋จำนวนหนึ่ง ซึ่งรัสเซียตั้งใจจะวางเครือข่ายป้องกันภัยทางอากาศที่ประเทศเบลารุสและอาเมเนียด้วยครับ
วันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ตัวเลือกแบบเครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้าใหม่ของกองทัพอากาศไทย
http://www.janes.com/article/32846/thailand-to-launch-lead-in-fighter-programme-after-new-government-forms
จากข่าวของ Jane's มีการประเมินว่าแบบตัวเลือกเครื่องบินฝึกไอพ่นที่จะเข้าแข่งขันในโครงการจัดหาเครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้าใหม่ของกองทัพอากาศไทยนั้น
มีอยู่ 5แบบด้วยกันคือ
KAI T-50
Alenia Aermacchi M-346
ซึ่งเครื่องทั้งสองแบบได้วิเคราะห์ไปก่อนหน้านี้แล้ว่าในงบประมาณที่กองทัพอากาศไทยตั้งไว้ $400 million ซึ่งยังไม่ทราบว่าจะจัดหามาจำนวนกี่เครื่อง
โดยในจำนวนที่อาจจะจัดหา 12-18เครื่อง T-50 และ M-346 มีความเป็นไปได้มากที่สุด เพราะประเทศใน ASEAN คือ
อินโดนีเซีย(T-50 16เครื่อง) และสิงคโปร์(M-346 12เครื่อง) จัดหาไปใช้แล้วในงบประมาณที่ใกล้เคียงกับที่ไทยตั้งไว้
BAE Systems Hawk
Hawk เป็นเครื่องบินฝึกไอพ่นที่มีการพัฒนาและเปิดสายการผลิตมานาน
โดยรุ่นล่าสุดคือ Hawk T2 (Hawk 128 Advanced Jet Trainer) ที่กองทัพอากาศอังกฤษจัดหาไป 22-28เครื่องนั้น
ก็ยังมีหลายประเทศสนใจอยู่เช่น ซาอุดิอาระเบีย และโอมาน ที่ใช้ บ.ฝึก Hawk อยู่แล้ว
ซึ่งทั้งยังเป็นหนึ่งในแบบที่จะเข้าแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินฝึก T-X แทน T-38 ของกองทัพอากาศสหรัฐฯด้วย
แต่ บ.Hawk มีราคาค่อนข้างแพงกว่า บ.แบบอื่นๆครับ จึงเป็นอันดับตัวเลือกที่รองลงมาจาก T-50 และ M-346 กองทัพอากาศไทยเคนกล่าวว่าสนใจอยู่
Aero L-159
ถึงกองทัพอากาศไทยจะเป็นจัดหา L-39ZA/ART เป็นจำนวนมาก แต่ L-159 จากสาธารณรัฐเชคมีโอกาสในโครงการนี้น้อยมากครับ
เพราะถ้าติดตามข่าวมาเครื่องแบบนี้ไม่เคยประจำการในประเทศอื่นนอกจากเชคเลย ถึงแม้ว่าจะเคยเสนอให้กับกองทัพอากาศหลายประเทศในช่วง๑๐ปีมานี้
Hongdu L-15
L-15 เป็นตัวเลือกอันดับท้ายสุดจากตัวเลือกทั้งหมด นอกจากความน่าเชื่อถือของอากาศยานจีน ซึ่งกองทัพอากาศไทยมีประสบการณ์สัมผัสเครื่องที่จีนเคยส่งมาสาธิตให้ชมแล้ว
L-15 เพิ่งจะอยู่ในขั้นต้นของการสั่งจัดหามาใชในกองทัพปลดปล่อยประชาชน และมีประเทศที่สนใจจัดหาไปใช้น้อยมากครับ
คือ แซมเบีย 6เครื่อง กับอีกประเทศที่ไม่เปิดเผย 12เครื่องซึ่งไม่มีหลักฐานชัดเจนนัก
แต่ประเด็นสำคัญคือสถานการณ์ภายในของไทยครับ
ถ้ามีปัญหามากๆการอนุมัติงบประมาณสำหรับโครงการจัดหาก็คงต้องเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด
และอาจจะมีผลต่อปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกแบบเครื่องด้วย
(ซึ่งถ้าทำให้กองทัพอากาศถูกบังคับให้เลือก L-15 ของจีนจริง จะเป็นสิ่งที่น่ากังวลมากครับ)
จากข่าวของ Jane's มีการประเมินว่าแบบตัวเลือกเครื่องบินฝึกไอพ่นที่จะเข้าแข่งขันในโครงการจัดหาเครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้าใหม่ของกองทัพอากาศไทยนั้น
มีอยู่ 5แบบด้วยกันคือ
KAI T-50
Alenia Aermacchi M-346
ซึ่งเครื่องทั้งสองแบบได้วิเคราะห์ไปก่อนหน้านี้แล้ว่าในงบประมาณที่กองทัพอากาศไทยตั้งไว้ $400 million ซึ่งยังไม่ทราบว่าจะจัดหามาจำนวนกี่เครื่อง
โดยในจำนวนที่อาจจะจัดหา 12-18เครื่อง T-50 และ M-346 มีความเป็นไปได้มากที่สุด เพราะประเทศใน ASEAN คือ
อินโดนีเซีย(T-50 16เครื่อง) และสิงคโปร์(M-346 12เครื่อง) จัดหาไปใช้แล้วในงบประมาณที่ใกล้เคียงกับที่ไทยตั้งไว้
BAE Systems Hawk
Hawk เป็นเครื่องบินฝึกไอพ่นที่มีการพัฒนาและเปิดสายการผลิตมานาน
โดยรุ่นล่าสุดคือ Hawk T2 (Hawk 128 Advanced Jet Trainer) ที่กองทัพอากาศอังกฤษจัดหาไป 22-28เครื่องนั้น
ก็ยังมีหลายประเทศสนใจอยู่เช่น ซาอุดิอาระเบีย และโอมาน ที่ใช้ บ.ฝึก Hawk อยู่แล้ว
ซึ่งทั้งยังเป็นหนึ่งในแบบที่จะเข้าแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินฝึก T-X แทน T-38 ของกองทัพอากาศสหรัฐฯด้วย
แต่ บ.Hawk มีราคาค่อนข้างแพงกว่า บ.แบบอื่นๆครับ จึงเป็นอันดับตัวเลือกที่รองลงมาจาก T-50 และ M-346 กองทัพอากาศไทยเคนกล่าวว่าสนใจอยู่
Aero L-159
ถึงกองทัพอากาศไทยจะเป็นจัดหา L-39ZA/ART เป็นจำนวนมาก แต่ L-159 จากสาธารณรัฐเชคมีโอกาสในโครงการนี้น้อยมากครับ
เพราะถ้าติดตามข่าวมาเครื่องแบบนี้ไม่เคยประจำการในประเทศอื่นนอกจากเชคเลย ถึงแม้ว่าจะเคยเสนอให้กับกองทัพอากาศหลายประเทศในช่วง๑๐ปีมานี้
Hongdu L-15
L-15 เป็นตัวเลือกอันดับท้ายสุดจากตัวเลือกทั้งหมด นอกจากความน่าเชื่อถือของอากาศยานจีน ซึ่งกองทัพอากาศไทยมีประสบการณ์สัมผัสเครื่องที่จีนเคยส่งมาสาธิตให้ชมแล้ว
L-15 เพิ่งจะอยู่ในขั้นต้นของการสั่งจัดหามาใชในกองทัพปลดปล่อยประชาชน และมีประเทศที่สนใจจัดหาไปใช้น้อยมากครับ
คือ แซมเบีย 6เครื่อง กับอีกประเทศที่ไม่เปิดเผย 12เครื่องซึ่งไม่มีหลักฐานชัดเจนนัก
แต่ประเด็นสำคัญคือสถานการณ์ภายในของไทยครับ
ถ้ามีปัญหามากๆการอนุมัติงบประมาณสำหรับโครงการจัดหาก็คงต้องเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด
และอาจจะมีผลต่อปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกแบบเครื่องด้วย
(ซึ่งถ้าทำให้กองทัพอากาศถูกบังคับให้เลือก L-15 ของจีนจริง จะเป็นสิ่งที่น่ากังวลมากครับ)