Rafael advances fifth-generation Spike variant
Side view of the Spike LR II - full scale development of the new missile is scheduled to be finalised in Q4 2018 Source: Rafael Advanced Defence Systems
Front view of the new Spike LR II - the missile features a new uncooled infrared sensor developed by Rafael Advanced Defence Systems (Rafael Advanced Defence Systems)
http://www.janes.com/article/70874/rafael-advances-fifth-generation-spike-variant
Rafael Advanced Defence Systems อิสราเอลได้เปิดตัวอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถังที่ขีดความสามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเต็มอัตราแบบ Spike LR II
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง Spike LR II ใหม่ถูกออกแบบให้สามารถยิงได้จากทั้งแท่นยิงภาคพื้นดิน, ยานยนต์, เรือ และเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งเป็นรุ่นที่5 ใหม่ล่าสุดในตระกูลระบบอาวุธปล่อยนำวิถีเอนกประสงค์ Spike (รุ่นที่4 ปัจจุบันกำหนดแบบเป็น Spike LR I)
และมีคุณสมบัติในการลดน้ำหนัก, เพิ่มระยะยิงขึ้นเป็นอย่างมาก, เพิ่มอำนาจการสังหาร, การพิสูจน์ทราบและติดตามเป้าหมายขั้นก้าวหน้า และเพิ่มการจัดสรรเป้าหมาย third-partyใหม่(ผ่านเครือข่าย) ด้วยการประกอบฝังหน่วยวัดความเฉื่อย(IMU: Inertial Measurement Unit)
การพัฒนาได้ตอบสนองจากผลตอบรับการปฏิบัติการโดยกลุ่มผู้ใช้งาน Spike 26ประเทศ ทั้งภัยคุกคามเกิดใหม่, กลุ่มเป้าหมายที่มีความท้าทายมากขึ้นในสนามรบร่วมสมัย และจากองค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาระบบ Spike รุ่นก่อน
Spike LR II ยังคงมีความคล้ายคลึงเต็มรูปแบบกับระบบตระกูล Spike รุ่นดังเดิม และสามารถทำการยิงได้จากแท่นยิงระบบ Spike ได้ทุกแบบ อาวุธปล่อยนำวิถี Spike LR II มีน้ำหนัก 12.7kg เบากว่า Spike LR I ประมาณ 1kg
ความสำเร็จหลักนี้มาจากการเปลี่ยนระบบตรวจจับ IR จากแบบหล่อเย็นมาเป็นแบบไม่หล่อเย็น ถอดความต้องการสำหรับถังบรรจุก๊าซทรงกระบอกและท่อหล่อเย็นภายใน และปรับปรุงในทางวิศวกรรมเพื่อลดน้ำหนักตัวจรวดลง
"เราได้เรียนรู้อย่างมากจากความต้องการการปฏิบัติการจากกลุ่มผู้ใช้ของเรา และยอมรับว่าเราจำเป็นต้องเพิ่มขีดความสามารถของ Spike ให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามเราได้พัฒนา Spike LR II ด้วยรูปทรงการทำงานที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถใช้ได้กับแท่นยิง Spike ดังเดิมทุกแบบ
นั่นหมายความว่าลูกค้าทุกรายซึ่งมีแท่นยิง Spike ทั้งบนยานยนต์, เฮลิคอปเตอร์, เรือ และภาคพื้นดินบนขาหยั่ง จะสามารถใช้แท่นยิงที่มีอยู่แล้วของพวกเขาเพื่อยิง Spike LR II โดยเท่ายิงเหล่านี้จำเป็นเพียงต้องการปรับปรุงชุดคำสั่งเล็กน้อยเพื่อใช้งานอาวุธปล่อยนำวิถีใหม่ได้"
Gal Papier ผู้จัดการการตลาด แผนกระบบอาวุธทางยุทธวิถีความแท่นยำสูงของ Rafael Advanced Defence Systems กล่าวกับ Jane's ครับ
Singapore Army reveals Rafael Spike SR anti-armour missile system
The Spike SR missile with its electro-optical seeker and camera sensor suite clearly shown. It is a single-shot, disposable weapon that is capable of engaging stationary and moving armoured vehicles at ranges of up to 1,500 m.
Source: Rafael Advanced Defense Systems
http://www.janes.com/article/70890/singapore-army-reveals-rafael-spike-sr-anti-armour-missile-system
กองทัพบกสิงคโปร์ได้จัดหาอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถังแบบเคลื่อย้ายด้วยบุคคล Spike Short Range(SR) จาก Rafael Advanced Defense Systems อิสราเอลในฐานะอาวุธต่อสู้ยานเกราะนำวิถียุคหน้าสำหนับกองกำลังทหารราบ ตามที่ Jane's ได้ทราบจากงาน Open House 2017 ของกองทัพสิงคโปร์ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 27-29 พฤษภาคมที่ผ่านมา
Jane's เข้าใจว่าอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง Spike SR จะถูกนำมาแทนที่ปืนไร้แรงสะท้อน Saab Bofors Dynamics Carl Gustaf 84mm และตอนนี้มี "ความพร้อมปฏิบัติการเต็มอัตราแล้ว" โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนำเข้าประจำการในหน่วยทหารราบ
แม้ว่า Jane's จะเข้าใจว่าอาจจะยังรวมไปถึงนำเข้าประจำการในหน่วยรบพิเศษ Commando และหน่วยเคลื่อนที่เร็ว Guard ของกองทัพบกสิงคโปร์ขึ้นอยู่กับความต้องการภารกิจ
Spike SR เป็นอาวุธปล่อยนำวิถียิงแล้วลืม(fire-and-forget) ในตระกูล Spike รุ่นล่าสุดและมีขนาดเล็กที่สุด คุณสมบัติระบบเป็นแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งท่อยิง ใช้ได้ทั้งกลางวันและกลางคืน มีความยาว 970mm น้ำหนักรวม 9.8kg ทั้งตัวจรวด, ชุดควบคุมการยิง(CLU: Control Launch Unit) และ Battery
ไม่เหมือนกับระบบค้นหาในเบ้าทรงกลมที่ติดตั้งกับอาวุธปล่อยนำวิถี Spike MR/LR/ER (Medium-/Long-/Extended-Range) Spike-SR ติดตั้งระบบตรวจับและติดตามเป้าหมายกล้อง EO(Electro-Optical)แบบไม่หล่อเย็นติดตายตัวทำงานได้ทั้งกลางวันกลางคืน
ตามข้อมูลของบริษัท Rafael และกองทัพสิงคโปร์ Spike SR มีวงรอบการทำงานจนพร้อมยิงได้ในเวลาน้อยกว่า 6วินาที มีระยะยิงใกล้สุด 100m ไกลสุด 1,000m มีความเป็นไปได้ในการยิงถูกเป้าหมายเคลื่อนที่สูงในระยะ 50-1,500m
พื้นฐานของ Spike SR ประกอบด้วยหัวรบสองชั้นแบบระเบิดแรงสูงต่อสู้รถถัง(Tandem HEAT: High-Explosive Anti-Tank) ที่ออกแบบมาเพื่อโจมตีเป้าหมายยานรบหุ้มเกราะที่อยู่นิ่งและกำลังเคลื่อนที่
อย่างไรก็ตาม Jane's ได้รายงานในปี 2016 ว่า Rafael ได้เปิดตัวหัวรบเจาะเกราะระเบิดแตกสะเก็ด(PBF: Penetration Blast Fragmentation) ใหม่ซึ่งพัฒนาร่วมกับองค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหมสิงคโปร์ (DSTA: Defence Science and Technology Agency)
และบริษัทย่อยของ Dynamit Nobel Defence เยอรมนีสำหรับเครื่องยิงจรวดต่อสู้รถถัง MATADOR(Manportable Anti-Tank, Anti-DOoR) ขนาด 90mm เพื่อสนับสนุนหน่วยรบในการปฏิบัติการรบในเขตเมืองด้านขีดความสามารถการทำลายสิ่งปลูกสร้างทางยุทธวิธีครับ
วันพุธที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
วันอังคารที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
เยอรมนีทำพิธีปล่อยเรือลงน้ำเรือฟริเกตชั้น F125 ลำสุดท้าย F225 Rheinland-Pfalz
Fourth and Final German Navy F125-class Frigate, F225 Rheinland-Pfalz christened and launch ceremony in Hamburg on 24 May 2017(Copyright: ThyssenKrupp Marine Systems)
http://www.tk-marinesystems.de/
วันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมากองทัพเรือเยอรมนี(Deutsche Marine) ได้ทำพิธีตั้งชื่อเรือและปล่อยเรือลงน้ำเรือฟริเกตชั้น F125 ลำที่สี่ซึ่งเป็นลำสุดท้ายคือ F225 Rheinland-Pfalz ที่อู่ต่อเรือของ ThyssenKrupp Marine Systems(TKMS) ใน Hamburg เยอรมนี
ตามเรือฟริเกตชั้น F125 สามลำที่ปล่อยเรือลงน้ำไปก่อนหน้านี้คือ F222 Baden-Württemberg, F223 Nordrhein-Westfalen และ F224 Sachsen-Anhalt โดยในพิธี Malu Dreyer มุขมนตรีรัฐ Rheinland Pfalz และแขกผู้มีเกียรติจากรัฐบาลเยอรมนี กองทัพเรือเยอรมนี และบริษัทด้านความมั่นคงร่วมงาน
บริษัท TKMS เยอรมนีมีกำหนดจะส่งมอบเรือฟริเกต F225 Rheinland-Pfalz ให้ BAAINBw สำนักงานการจัดซื้อจัดจ้างกลาโหมรัฐบาลสหพันธรัฐเยอรมนีในราวฤดูใบไม้ผลิปี 2020
ซึ่งการทำพิธีปล่อยเรือ F225 Rheinland-Pfalz ลงน้ำนี้ถือเป็นหลักก้าวย่างที่สำคัญของการใกล้ที่จะเสร็จสิ้นโครงการจัดหาเรือฟริเกตชั้น F125 วงเงินกว่า 2.2 billion Euros ตั้งแต่สร้าง(วางกระดูกงูเรือ)เรือลำแรกในเดือนพฤศจิกายน 2011
โครงการเรือฟริเกต ARGE F125 ได้เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2007 สำหรับการจัดหาเรือฟริเกตใหม่ 4ลำทดเแทนเรือฟริเกตชั้น F122 Bremen ที่กองทัพเรือเยอรมนีเคยมีประจำการการรวม 8ลำที่เริ่มเข้าประจำการช่วงปี 1982-1990
TKMS เยอรมนีเป็นผู้รับสัญญาโครงการหลักโดยมีบริษัทรับสัญญาย่อยคืออู่เรือ Fr. Lürssen Werft สร้างส่วนหัวเรือที่อู่เรือใน Bremen และสร้างส่วนท้ายเรือที่อู่เรือใน Wolgast โดยนำมาประกอบรวมกันและติดตั้งระบบต่างๆที่อู่เรือบริษัท Blohm+Voss ในเครือ TKMS ที่ Hamburg
เรือฟริเกตชั้น F125 มีความยาวตัวเรือ 149m ระวางขับน้ำ 7,200tons ระบบขับเคลื่อนแบบ CODLAG ทำความเร็วได้สูงสุด 26knots กำลังพลประจำเรือปกติ 110-120นาย สูงสุด 190นาย มีโรงเก็บและลานจอดเฮลิคอปเตอร์รองรับ ฮ.NH90 NFH(NATO Frigate Helicopter)ได้ 2เครื่อง
ระบบอาวุธปืนใหญ่เรือ Oto Melara 127/64LW 1กระบอก, ปืนใหญ่กล Remote แบบ Rheinmetall MLG27 2กระบอก, ป้อมปืนกลหนัก Remote แบบ HITROLE 12.7mm 5กระบอก, อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ RGM-84 Harpoon 8นัด, ระบบอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศป้องกันระยะประชิด RIM-116 RAM 2แท่นยิง และระบบอาวุธที่ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต เช่น ปืนใหญ่ฉีดน้ำครับ
http://www.tk-marinesystems.de/
วันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมากองทัพเรือเยอรมนี(Deutsche Marine) ได้ทำพิธีตั้งชื่อเรือและปล่อยเรือลงน้ำเรือฟริเกตชั้น F125 ลำที่สี่ซึ่งเป็นลำสุดท้ายคือ F225 Rheinland-Pfalz ที่อู่ต่อเรือของ ThyssenKrupp Marine Systems(TKMS) ใน Hamburg เยอรมนี
ตามเรือฟริเกตชั้น F125 สามลำที่ปล่อยเรือลงน้ำไปก่อนหน้านี้คือ F222 Baden-Württemberg, F223 Nordrhein-Westfalen และ F224 Sachsen-Anhalt โดยในพิธี Malu Dreyer มุขมนตรีรัฐ Rheinland Pfalz และแขกผู้มีเกียรติจากรัฐบาลเยอรมนี กองทัพเรือเยอรมนี และบริษัทด้านความมั่นคงร่วมงาน
บริษัท TKMS เยอรมนีมีกำหนดจะส่งมอบเรือฟริเกต F225 Rheinland-Pfalz ให้ BAAINBw สำนักงานการจัดซื้อจัดจ้างกลาโหมรัฐบาลสหพันธรัฐเยอรมนีในราวฤดูใบไม้ผลิปี 2020
ซึ่งการทำพิธีปล่อยเรือ F225 Rheinland-Pfalz ลงน้ำนี้ถือเป็นหลักก้าวย่างที่สำคัญของการใกล้ที่จะเสร็จสิ้นโครงการจัดหาเรือฟริเกตชั้น F125 วงเงินกว่า 2.2 billion Euros ตั้งแต่สร้าง(วางกระดูกงูเรือ)เรือลำแรกในเดือนพฤศจิกายน 2011
โครงการเรือฟริเกต ARGE F125 ได้เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2007 สำหรับการจัดหาเรือฟริเกตใหม่ 4ลำทดเแทนเรือฟริเกตชั้น F122 Bremen ที่กองทัพเรือเยอรมนีเคยมีประจำการการรวม 8ลำที่เริ่มเข้าประจำการช่วงปี 1982-1990
TKMS เยอรมนีเป็นผู้รับสัญญาโครงการหลักโดยมีบริษัทรับสัญญาย่อยคืออู่เรือ Fr. Lürssen Werft สร้างส่วนหัวเรือที่อู่เรือใน Bremen และสร้างส่วนท้ายเรือที่อู่เรือใน Wolgast โดยนำมาประกอบรวมกันและติดตั้งระบบต่างๆที่อู่เรือบริษัท Blohm+Voss ในเครือ TKMS ที่ Hamburg
เรือฟริเกตชั้น F125 มีความยาวตัวเรือ 149m ระวางขับน้ำ 7,200tons ระบบขับเคลื่อนแบบ CODLAG ทำความเร็วได้สูงสุด 26knots กำลังพลประจำเรือปกติ 110-120นาย สูงสุด 190นาย มีโรงเก็บและลานจอดเฮลิคอปเตอร์รองรับ ฮ.NH90 NFH(NATO Frigate Helicopter)ได้ 2เครื่อง
ระบบอาวุธปืนใหญ่เรือ Oto Melara 127/64LW 1กระบอก, ปืนใหญ่กล Remote แบบ Rheinmetall MLG27 2กระบอก, ป้อมปืนกลหนัก Remote แบบ HITROLE 12.7mm 5กระบอก, อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ RGM-84 Harpoon 8นัด, ระบบอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศป้องกันระยะประชิด RIM-116 RAM 2แท่นยิง และระบบอาวุธที่ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต เช่น ปืนใหญ่ฉีดน้ำครับ
วันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
แอลจีเรียรับมอบปืนใหญ่อัตตาจร PLZ45 จีน และเรือฟริเกต MEKO A-200 เยอรมนีลำที่สอง
Algeria confirms PLZ45 acquisition
Six PLZ45 self-propelled howitzers in a firing line during the exercise. Source: Algerie TV
The exercise also featured upgraded Panhard M3 APCs. (Algerie TV)
http://www.janes.com/article/70806/algeria-confirms-plz45-acquisition
กองทัพบกแอลจีเรียยืนยันเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคมว่าได้รับมอบปืนใหญ่อัตตาจรสายพาน NORINCO PLZ45 ขนาด 155mm จากสาธารณรัฐประชาชนจีนแล้ว เมื่อมีภาพแสดงว่า ป.อจ.PLZ45 ถูกใช้ระหว่างการฝึกซ้อมรบ
ภาพถ่ายและวีดิทัศน์ของปืนใหญ่อัตตาจร PLZ45 6ระบบกำลังทำการยิงเกิดขึ้นระหว่างการเยี่ยมชมการฝึกที่เขตภาคทหารที่4 โดยผู้บัญชาการกองทัพแอลจีเรีย พลโท Ahmed Gaid Salah
กระทรวงกลาโหมแอลจีเรียกล่าวว่า พลโท Salah ได้กำกับการฝึกซ้อมรบทางยุทธวิธีที่รวมหน่วยจาก กองพลน้อยยานเกราะที่41 ในเขต Amenas ใกล้พรมแดนลิเบีย
ภาพถ่ายของ ป.อัตตาจร PLZ ที่ถูกปกปิดกำลังถูกขนย้ายมีการเผยแพร่ครั้งแรกในเดือนมกราคม 2014 ซึ่งตอนนั้นยังไม่เป็นที่ชัดเจนว่าภาพดังเป็น ป.อัตตาจร PLZ45 รุ่นลำกล้อง 155mm/45cal หรือ PLZ52 รุ่นลำกล้องยาว 155mm/52cal
ก่อนหน้านี้กองทัพบกคูเวตและกองทัพบกซาอุดิอาระเบียได้จัดหาปืนใหญ่อัตตาจร PLZ45 จากจีนจำนวน 51ระบบ และ 54ระบบ ตามลำดับ แต่ยังไม่มีรายงานว่ามีประเทศใดเป็นลูกค้าปืนใหญ่อัตตาจรสายพาน PLZ52 ในขณะนี้
โดยกองทัพบกแอลจีเรียได้สั่งจัดหาปืนใหญ่อัตตาจรสายพาน PLZ45 จำนวน 54ระบบ ในปี 2013 ซึ่งเป็นระบบปืนใหญ่อัตตาจรสายพานรุ่นส่งออกของจีนครับ
Algeria commissions second Meko frigate
The second Algerian A-200 Meko frigate was commissioned on 24 May. (Algerian Ministry of Defence)
http://www.janes.com/article/70785/algeria-commissions-second-meko-frigate
กองทัพเรือแอลจีเรียได้ทำพิธีขึ้นระวางประจำการเรือฟริเกตแบบ MEKO A-200 เยอรมนีลำที่สองของตนเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา โดยพิธีมี พลโท Ahmed Gaid Salah ผู้บัญชาการกองทัพแอลจีเรีย และรองรัฐมนตรีกลาโหมแอลจีเรียร่วมงาน
เรือฟริเกตทั้งสองลำถูกสร้างที่อู่ต่อเรือใน Kiel โดยบริษัท ThyssenKrupp Marine Systems(TKMS) เยอรมนีซึ่งไม่เคยให้ความเห็นใดๆต่อการจัดหาเรือของกองทัพเรือแอลจีเรีย
โดยเรือลำแรก Erradi หมายเลขเรือ 910 เข้าประจำการเมื่อเดือนเมษายน 2016 และเรือลำที่สอง El-Moudamir หมายเลขเรือ 911 ถูกปล่อยลงน้ำเมื่อ 11 ธันวาคม 2015 และเข้าประจำการเมื่อ 24 พฤษภาคม 2017
Algerian Navy El-Moudamir (911) at Kiel canal Germany
เรือฟริเกตชั้น Erradi หรือแบบเรือ MEKO A-200AN กองทัพเรือแอลจีเรีย มีความยาวเรือประมาณ 121m ระวางขับน้ำประมาณ 3,700tons ระบบขับเคลื่อน CODAG-WARP(COmbined Diesel And Gas turbine-WAter jet and Refined Propellers)
ระบบอาวุธมี ปืนใหญ่เรือ Oto Melara 127/64 LW, ปืนใหญ่กล MSI DS30 30mm 2กระบอก, อาวุธปล่อยนำวิถี SAAB RBS 15 Mk3 16นัด, อาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศ Denel Umknonto ในท่อยิงแนวดิ่ง VLS(Vertical Launching System) 32นัด, แท่นยิง Torpedo เบาปราบเรือดำน้ำ MU90 2แท่น
ระบบตรวจจับมีเช่น Radar ตรวจการณ์ SAAB Sea Giraffe AMB, Radar ควบคุมการยิง SAAB CEROS 200, Sonar แบบ Thales UMS4132 Kingklip มีลาดจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ท้ายเรือครับ
Six PLZ45 self-propelled howitzers in a firing line during the exercise. Source: Algerie TV
The exercise also featured upgraded Panhard M3 APCs. (Algerie TV)
http://www.janes.com/article/70806/algeria-confirms-plz45-acquisition
กองทัพบกแอลจีเรียยืนยันเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคมว่าได้รับมอบปืนใหญ่อัตตาจรสายพาน NORINCO PLZ45 ขนาด 155mm จากสาธารณรัฐประชาชนจีนแล้ว เมื่อมีภาพแสดงว่า ป.อจ.PLZ45 ถูกใช้ระหว่างการฝึกซ้อมรบ
ภาพถ่ายและวีดิทัศน์ของปืนใหญ่อัตตาจร PLZ45 6ระบบกำลังทำการยิงเกิดขึ้นระหว่างการเยี่ยมชมการฝึกที่เขตภาคทหารที่4 โดยผู้บัญชาการกองทัพแอลจีเรีย พลโท Ahmed Gaid Salah
กระทรวงกลาโหมแอลจีเรียกล่าวว่า พลโท Salah ได้กำกับการฝึกซ้อมรบทางยุทธวิธีที่รวมหน่วยจาก กองพลน้อยยานเกราะที่41 ในเขต Amenas ใกล้พรมแดนลิเบีย
ภาพถ่ายของ ป.อัตตาจร PLZ ที่ถูกปกปิดกำลังถูกขนย้ายมีการเผยแพร่ครั้งแรกในเดือนมกราคม 2014 ซึ่งตอนนั้นยังไม่เป็นที่ชัดเจนว่าภาพดังเป็น ป.อัตตาจร PLZ45 รุ่นลำกล้อง 155mm/45cal หรือ PLZ52 รุ่นลำกล้องยาว 155mm/52cal
ก่อนหน้านี้กองทัพบกคูเวตและกองทัพบกซาอุดิอาระเบียได้จัดหาปืนใหญ่อัตตาจร PLZ45 จากจีนจำนวน 51ระบบ และ 54ระบบ ตามลำดับ แต่ยังไม่มีรายงานว่ามีประเทศใดเป็นลูกค้าปืนใหญ่อัตตาจรสายพาน PLZ52 ในขณะนี้
โดยกองทัพบกแอลจีเรียได้สั่งจัดหาปืนใหญ่อัตตาจรสายพาน PLZ45 จำนวน 54ระบบ ในปี 2013 ซึ่งเป็นระบบปืนใหญ่อัตตาจรสายพานรุ่นส่งออกของจีนครับ
Algeria commissions second Meko frigate
The second Algerian A-200 Meko frigate was commissioned on 24 May. (Algerian Ministry of Defence)
http://www.janes.com/article/70785/algeria-commissions-second-meko-frigate
กองทัพเรือแอลจีเรียได้ทำพิธีขึ้นระวางประจำการเรือฟริเกตแบบ MEKO A-200 เยอรมนีลำที่สองของตนเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา โดยพิธีมี พลโท Ahmed Gaid Salah ผู้บัญชาการกองทัพแอลจีเรีย และรองรัฐมนตรีกลาโหมแอลจีเรียร่วมงาน
เรือฟริเกตทั้งสองลำถูกสร้างที่อู่ต่อเรือใน Kiel โดยบริษัท ThyssenKrupp Marine Systems(TKMS) เยอรมนีซึ่งไม่เคยให้ความเห็นใดๆต่อการจัดหาเรือของกองทัพเรือแอลจีเรีย
โดยเรือลำแรก Erradi หมายเลขเรือ 910 เข้าประจำการเมื่อเดือนเมษายน 2016 และเรือลำที่สอง El-Moudamir หมายเลขเรือ 911 ถูกปล่อยลงน้ำเมื่อ 11 ธันวาคม 2015 และเข้าประจำการเมื่อ 24 พฤษภาคม 2017
Algerian Navy El-Moudamir (911) at Kiel canal Germany
เรือฟริเกตชั้น Erradi หรือแบบเรือ MEKO A-200AN กองทัพเรือแอลจีเรีย มีความยาวเรือประมาณ 121m ระวางขับน้ำประมาณ 3,700tons ระบบขับเคลื่อน CODAG-WARP(COmbined Diesel And Gas turbine-WAter jet and Refined Propellers)
ระบบอาวุธมี ปืนใหญ่เรือ Oto Melara 127/64 LW, ปืนใหญ่กล MSI DS30 30mm 2กระบอก, อาวุธปล่อยนำวิถี SAAB RBS 15 Mk3 16นัด, อาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศ Denel Umknonto ในท่อยิงแนวดิ่ง VLS(Vertical Launching System) 32นัด, แท่นยิง Torpedo เบาปราบเรือดำน้ำ MU90 2แท่น
ระบบตรวจจับมีเช่น Radar ตรวจการณ์ SAAB Sea Giraffe AMB, Radar ควบคุมการยิง SAAB CEROS 200, Sonar แบบ Thales UMS4132 Kingklip มีลาดจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ท้ายเรือครับ
วันอาทิตย์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
รัสเซียจะสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ลำแรกในปี 2022 ทดสอบเฮลิคอปเตอร์โจมตี Mi-28NM ใหม่และระบบชี้เป้าอาวุธของ Ka-52
Russia to build first helicopter carrier by 2022
Vitaliy Nevar/TASS
Russia’s United Ship-Building Corporation earlier said the domestic shipyards could create the analog of Mistral ships
http://tass.com/defense/947622
รัสเซียจะสร้างเรือยกพลขึ้นบกบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ลำแรกของตนในปี 2022 ตามที่รองรัฐมนตรีกลาโหมรัสเซีย นาย Yuri Borisov กล่าวเมื่อ 25 พฤษภาคมที่ผ่านมา
"วงรอบการสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์คืออีกอย่างน้อย 4ปี ใช่สักช่วงในปี 2022" รองรัฐมนตรีกลาโหมรัสเซียกล่าว
กองทัพเรือรัสเซียปัจจุบันยังขาดการมีเรือยกพลขึ้นบกจู่โจมเอนกประสงค์ประจำการ โดยก่อนหน้ารัสเซียได้สั่งจัดหาเรืออู่ยกพลขึ้นบกบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้น Mistral จำนวน 2ลำจากฝรั่งเศสในปี 2011
อย่างไรก็ตามเนื่องจากการที่รัสเซียเข้าผนวก Crimea และสนับสนุนกลุ่มติดอาวุธทำสงครามกับรัฐบาลยูเครนในปี 2014 ทำให้ฝรั่งเศสได้เจรจากับรัสเซียในการยกเลิกการส่งมอบเรือที่สร้างเสร็จแล้วทั้งสองลำให้รัสเซีย ต่อมาฝรั่งเศสได้ขายเรือชั้น Mistral ทั้งสองลำต่อให้กองทัพเรืออียิปต์
โดยรัสเซียได้มีการเจรจากับอียิปต์ในการคงระบบอุปกรณ์ของตนบางส่วนกับเรือของอียิปต์ ซึ่งจะสนับสนุนปฏิบัติการร่วมกับระบบอากาศยานของรัสเซียอย่างเฮลิคอปเตอร์โจมตีประจำเรือ Ka-52K ที่อียิปต์กำลังเจรจาจะจัดหาต่อจาก ฮ.โจมตี Ka-52 ที่สั่งจัดหาแล้ว
United Ship-Building Corporation(USC) กลุ่มอุตสาหกรรมทางเรือรัสเซียได้กล่าวก่อนหน้านี้ว่าอู่ต่อเรือในรัสเซียเองสามารถต่อเรือแบบเดียวกับเรืออู่ยกพลขึ้นบกบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้น Mistral ฝรั่งเศสได้
โดยเดือนกรกฎาคมปีที่แล้ว รองผู้บัญชาการทหารเรือรัสเซีย พลเรือโท Viktor Bursuk กล่าวว่าการกำหนดทางเทคนิคของเรือยกพลขึ้นบกจู่โจมเอนกประสงค์ได้มีการเตรียมการแล้วครับ
Russia starts state trials of upgraded ‘Night Hunter’ helicopter
Sergei Bobylev/Russian Defence Ministry Press Office/TASS
The work on the new modification began in 2009
http://tass.com/defense/947531
Russian Helicopters กลุ่มอุตสาหกรรมเฮลิคอปเตอร์รัสเซียได้เริ่มขั้นตอนการทดลองเฮลิคอปเตอร์โจมตี Mil Mi-28NM ตามที่ผู้อำนวยการบริหาร Russian Helicopters นาย Andrei Boginsky กล่าวเมื่อ 25 พฤษภาคมที่ผ่านมา
"เราได้เริ่มต้น(ขั้นตอนการทดสอบ)แล้ว" เขากล่าว ฮ.โจมตี Mi-28NM เป็นรุ่นปรับปรุงใหม่ของ Mi-28N Night Hunter โดยงานพัฒนาได้เริ่มตั้งแต่ปี 2009
คาดว่า Mi-28NM ได้รับการติดตั้ง Radar ตรวจการณ์ใหม่, ระบบควบคุมการยิงใหม่ และอุปกรณ์อื่น ซึ่งสามารถใช้อาวุธโจมตีความแม่นยำสูงได้ครับ
Ka-52 helicopters to have advanced weapon targeting system
Yuri Smityuk/TASS
The new system will enhance the accuracy of the gun’s traversing system and enhance the speed and range of fire, according to the designer
http://tass.com/defense/947365
Russian Space Systems (RSS ในเครือ Roscosmos) ได้ให้การสนับสนุน Russian Helicopters ในการพัฒนาระบบชี้เป้าหมายปืนใหญ่อากาศขั้นก้าวหน้าสำหรับเฮลิคอปเตอร์โจมตี Ka-52 Alligator ตามที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ของ RSS กล่าว
"ระบบใหม่จะเพิ่มความแม่นยำของระบบการหมุนส่ายของปืนและเพิ่มความเร็วและระยะยิง การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างระบบวัดการเคลื่อนที่เชิงมุมของระบบปืนใหญ่อากาศในแนวดิ่งและแนวระดับจะดำเนินร่วมกับสถาบันวิจัยการวัดค่าทางกายภาพ NIIFI(ในเครือ RSS)" ข่าวแถลงกล่าว
ผู้จ้างถาวรของ NIIFI คือ NPO Saturn, สำนักออกแบบ Yakolev, Sukhoi, Irkut และอื่นๆ ผลิตภัณฑ์ของ NIIFI ถูกใช้ในอากาศยานรัสเซียจำนวนมากทั้ง Kamov Ka-52, Sukhoi Su-35, Yakolev Yak-130, Sukhoi T-50 และ Sukhoi Superjet-100 ครับ
Vitaliy Nevar/TASS
Russia’s United Ship-Building Corporation earlier said the domestic shipyards could create the analog of Mistral ships
http://tass.com/defense/947622
รัสเซียจะสร้างเรือยกพลขึ้นบกบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ลำแรกของตนในปี 2022 ตามที่รองรัฐมนตรีกลาโหมรัสเซีย นาย Yuri Borisov กล่าวเมื่อ 25 พฤษภาคมที่ผ่านมา
"วงรอบการสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์คืออีกอย่างน้อย 4ปี ใช่สักช่วงในปี 2022" รองรัฐมนตรีกลาโหมรัสเซียกล่าว
กองทัพเรือรัสเซียปัจจุบันยังขาดการมีเรือยกพลขึ้นบกจู่โจมเอนกประสงค์ประจำการ โดยก่อนหน้ารัสเซียได้สั่งจัดหาเรืออู่ยกพลขึ้นบกบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้น Mistral จำนวน 2ลำจากฝรั่งเศสในปี 2011
อย่างไรก็ตามเนื่องจากการที่รัสเซียเข้าผนวก Crimea และสนับสนุนกลุ่มติดอาวุธทำสงครามกับรัฐบาลยูเครนในปี 2014 ทำให้ฝรั่งเศสได้เจรจากับรัสเซียในการยกเลิกการส่งมอบเรือที่สร้างเสร็จแล้วทั้งสองลำให้รัสเซีย ต่อมาฝรั่งเศสได้ขายเรือชั้น Mistral ทั้งสองลำต่อให้กองทัพเรืออียิปต์
โดยรัสเซียได้มีการเจรจากับอียิปต์ในการคงระบบอุปกรณ์ของตนบางส่วนกับเรือของอียิปต์ ซึ่งจะสนับสนุนปฏิบัติการร่วมกับระบบอากาศยานของรัสเซียอย่างเฮลิคอปเตอร์โจมตีประจำเรือ Ka-52K ที่อียิปต์กำลังเจรจาจะจัดหาต่อจาก ฮ.โจมตี Ka-52 ที่สั่งจัดหาแล้ว
United Ship-Building Corporation(USC) กลุ่มอุตสาหกรรมทางเรือรัสเซียได้กล่าวก่อนหน้านี้ว่าอู่ต่อเรือในรัสเซียเองสามารถต่อเรือแบบเดียวกับเรืออู่ยกพลขึ้นบกบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้น Mistral ฝรั่งเศสได้
โดยเดือนกรกฎาคมปีที่แล้ว รองผู้บัญชาการทหารเรือรัสเซีย พลเรือโท Viktor Bursuk กล่าวว่าการกำหนดทางเทคนิคของเรือยกพลขึ้นบกจู่โจมเอนกประสงค์ได้มีการเตรียมการแล้วครับ
Russia starts state trials of upgraded ‘Night Hunter’ helicopter
Sergei Bobylev/Russian Defence Ministry Press Office/TASS
The work on the new modification began in 2009
http://tass.com/defense/947531
Russian Helicopters กลุ่มอุตสาหกรรมเฮลิคอปเตอร์รัสเซียได้เริ่มขั้นตอนการทดลองเฮลิคอปเตอร์โจมตี Mil Mi-28NM ตามที่ผู้อำนวยการบริหาร Russian Helicopters นาย Andrei Boginsky กล่าวเมื่อ 25 พฤษภาคมที่ผ่านมา
"เราได้เริ่มต้น(ขั้นตอนการทดสอบ)แล้ว" เขากล่าว ฮ.โจมตี Mi-28NM เป็นรุ่นปรับปรุงใหม่ของ Mi-28N Night Hunter โดยงานพัฒนาได้เริ่มตั้งแต่ปี 2009
คาดว่า Mi-28NM ได้รับการติดตั้ง Radar ตรวจการณ์ใหม่, ระบบควบคุมการยิงใหม่ และอุปกรณ์อื่น ซึ่งสามารถใช้อาวุธโจมตีความแม่นยำสูงได้ครับ
Ka-52 helicopters to have advanced weapon targeting system
Yuri Smityuk/TASS
The new system will enhance the accuracy of the gun’s traversing system and enhance the speed and range of fire, according to the designer
http://tass.com/defense/947365
Russian Space Systems (RSS ในเครือ Roscosmos) ได้ให้การสนับสนุน Russian Helicopters ในการพัฒนาระบบชี้เป้าหมายปืนใหญ่อากาศขั้นก้าวหน้าสำหรับเฮลิคอปเตอร์โจมตี Ka-52 Alligator ตามที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ของ RSS กล่าว
"ระบบใหม่จะเพิ่มความแม่นยำของระบบการหมุนส่ายของปืนและเพิ่มความเร็วและระยะยิง การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างระบบวัดการเคลื่อนที่เชิงมุมของระบบปืนใหญ่อากาศในแนวดิ่งและแนวระดับจะดำเนินร่วมกับสถาบันวิจัยการวัดค่าทางกายภาพ NIIFI(ในเครือ RSS)" ข่าวแถลงกล่าว
ผู้จ้างถาวรของ NIIFI คือ NPO Saturn, สำนักออกแบบ Yakolev, Sukhoi, Irkut และอื่นๆ ผลิตภัณฑ์ของ NIIFI ถูกใช้ในอากาศยานรัสเซียจำนวนมากทั้ง Kamov Ka-52, Sukhoi Su-35, Yakolev Yak-130, Sukhoi T-50 และ Sukhoi Superjet-100 ครับ
วันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ภาพ Oplot-T ที่ยูเครนล่าสุด-๑๕ และวิดีทัศน์ประชาสัมพันธ์ BM Oplot
Ukroboronprom announces delivery plan for next batch of Oplot tanks to Thailand.
https://www.facebook.com/DilanST/posts/1571000426258153
like to be complete Oplot-T Main Battle Tank and Turret part of Oplot tank in construction at Malyshev plant, Kharkiv, Ukraine
วิดีทัศน์รายงานข่าวของสถานีโทรทัศน์ยูเครนได้แสดงภาพการผลิตรถถังในโรงงาน Malyshev ใน Kharkiv ยูเครน โดยนอกจากการซ่อมปรับปรุงรถถังหลัก T-64 และ T-80 ในโรงงานแล้ว
ยังพบการเชื่อมขึ้นรูปป้อมปืนทรงเหลี่ยมที่ชัดเจนว่าน่าจะเป็นป้อมปืนของรถถังหลัก Oplot รวมถึงชิ้นส่วนรถแคร่ฐานของรถถัง Oplot และรถถังหลัก Oplot ที่ประกอบเกือบเสร็จสมบูรณ์แล้วอย่างน้อย ๑คัน
แสดงถึงสายการผลิตรถให้กองทัพบกไทยยังคงมีอยู่ แม้ว่ายูเครนจะส่งมอบรถถังหลัก Oplot-T เข้าประจำการใน กองพันทหารม้าที่๒ กองพลทหารราบที่๒ รักษาพระองค์ ได้เพียง ๒๐คัน ยังเหลือที่ต้องจัดส่งอีก ๒๙คันก็ตาม
โดยรายงานล่าสุดจากหัวหน้าวิศวกรโรงงาน Malyshev ต่อสื่อยูเครนนั้น Ukroboronprom รัฐวิสาหกิจด้านอุตสาหกรรมความมั่นคงรัฐบาลยูเครน ประกาศที่จะมอบรรถังหลัก Oplot ที่เหลืออีก ๒๙คันให้ไทยได้ครบภายในปี พ.ศ.๒๕๖๐(2017) นี้
ล่าสุดรถชุดใหม่ได้ถูกจัดส่งทางเรือเดินทางไปที่ฐานทัพเรือสัตหีบในสัปดาห์หน้าแล้ว(ประมาณ ๑๐คัน) ทำให้จำนวนรถที่กองทัพบกไทยมีจะเพิ่มเป็น ๓๐คัน
ทั้งนี้โรงงาน Malyshev ยังได้ลงวีดิทัศน์สามมิติประชาสัมพันธ์รถถังหลัก BM Oplot ในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน แสดงถึงการนำเสนอการขายรถถังหลัก Oplot ต่อต่างประเทศด้วยครับ
วันศุกร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ภาพ Oplot-T ที่ยูเครนล่าสุด-๑๔ และกองทัพบกไทยทดสอบบินเฮลิคอปเตอร์ H145
Hull part No.50 of Oplot-M Main Battle Tank at Malyshev plant Ukraine, probably be Royal Thai Army's last Oplot-T or Demobee tank part
https://www.facebook.com/pasha.azone
ภาพล่าสุดที่โรงงาน Malyshev ในยูเครนแสดงภาพชิ้นส่วนตัวถังรถหมายเลข No.50 ที่น่าจะเป็นของรถถังหลัก Oplot-T ของกองทัพบกไทยคันสุดท้ายในสายการผลิต
อย่างก็ตามมีข้อสงสัยว่ากองทัพบกไทยได้สั่งจัดหารถถังหลัก Oplot จากยูเครนจำนวน ๔๙คัน วงเงิน ๗,๒๐๐ล้านบาท($240 million) ในปี พ.ศ.๒๕๕๔(2011) โดยเข้าประจำการใน กองพันทหารม้าที่๒ กองพลทหารราบที่๒ รักษาพระองค์
นั่นทำให้ชิ้นส่วนตัวถังรถคันสุดท้ายของไทยควรจะเป็นลำดับที่ No.49 มากกว่า ซึ่งตรงนี้น่าจะมีข้อมูลเกี่ยวกับการระบุลำดับหมายเลขบนชิ้นส่วนรถในโรงงานมากกว่านี้ ซึ่งตัวถังรถดังกล่าวเองก็มีการเขียนว่า "Dembelsky" ที่แปลว่า Demobee ในภาษาอังกฤษเป็นคำแสลงของ Demobilize คือ "ปลดประจำการ" ด้วย
แต่อย่างไรก็ตามจากที่ปัจจุบันยูเครนได้จัดส่งมอบรถถังหลัก Oplot ให้ไทยได้เพียง ๒๐คัน ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙(2014-2016) ทำให้โครงการจัดหารถถังหลัก Oplot นี้่มีระยะเวลาล่าช้านานที่สุดเท่าที่เคยมีมาครับ
https://www.facebook.com/GeneralSupportAviationBattalion/videos/1330487587028649/
Video clip: Flight Test of Airbus Helicopters H145(EC145 T2) 41st Aviation Battalion, Aviation Regiment, Army Aviation Center, Royal Thai Army
กองพันบินที่๔๑ กรมบิน ศูนย์การบินทหารบก กองทัพบกไทยได้ดำเนินทดสอบการบินเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Airbus Helicopters H145(EC145 T2) ซึ่งเพิ่งจะได้รับมอบชุดแรกตามวิดีทัศน์ประชาสัมพันธ์นี้(น่าจะมีอย่างน้อย ๒เครื่อง)
โดยเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๘(2015) กองทัพบกไทยได้ลงนามจัดซื้อเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปแบบ EC145 T2(H145) จำนวน ๖เครื่องวงเงิน ๙๙๙,๒๐๗,๔๓๖บาท($30.66 million) กับบริษัท Airbus Helicopters ฝรั่งเศส/เยอรมนี
ก่อนหน้านี้กองทัพบกไทยได้จัดหาเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปแบบ ฮ.ท.๗๒ UH-72A Lakota จำนวน ๖เครื่อง จากบริษัท Airbus Helicopters สาขาอเมริกาเหนือ ซึ่งได้เกิดอุบัติเหตุสูญเสียไปหนึ่งเครื่องตกที่เชียงใหม่เมื่อ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ ตามที่ได้เคยรายงานไป
ทั้งนี้กองทัพบกไทยกำลังอยู่ระหว่างการจัดหาเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปเพื่อนำมาทดแทน ฮ.เก่าเช่น ฮ.ท.๑ UH-1H Huey ที่ใช้งานมานานจนหมดอายุการใช้งานและได้ปลดประจำการลงไปอีกหลายแบบครับ
https://www.facebook.com/pasha.azone
ภาพล่าสุดที่โรงงาน Malyshev ในยูเครนแสดงภาพชิ้นส่วนตัวถังรถหมายเลข No.50 ที่น่าจะเป็นของรถถังหลัก Oplot-T ของกองทัพบกไทยคันสุดท้ายในสายการผลิต
อย่างก็ตามมีข้อสงสัยว่ากองทัพบกไทยได้สั่งจัดหารถถังหลัก Oplot จากยูเครนจำนวน ๔๙คัน วงเงิน ๗,๒๐๐ล้านบาท($240 million) ในปี พ.ศ.๒๕๕๔(2011) โดยเข้าประจำการใน กองพันทหารม้าที่๒ กองพลทหารราบที่๒ รักษาพระองค์
นั่นทำให้ชิ้นส่วนตัวถังรถคันสุดท้ายของไทยควรจะเป็นลำดับที่ No.49 มากกว่า ซึ่งตรงนี้น่าจะมีข้อมูลเกี่ยวกับการระบุลำดับหมายเลขบนชิ้นส่วนรถในโรงงานมากกว่านี้ ซึ่งตัวถังรถดังกล่าวเองก็มีการเขียนว่า "Dembelsky" ที่แปลว่า Demobee ในภาษาอังกฤษเป็นคำแสลงของ Demobilize คือ "ปลดประจำการ" ด้วย
แต่อย่างไรก็ตามจากที่ปัจจุบันยูเครนได้จัดส่งมอบรถถังหลัก Oplot ให้ไทยได้เพียง ๒๐คัน ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙(2014-2016) ทำให้โครงการจัดหารถถังหลัก Oplot นี้่มีระยะเวลาล่าช้านานที่สุดเท่าที่เคยมีมาครับ
https://www.facebook.com/GeneralSupportAviationBattalion/videos/1330487587028649/
Video clip: Flight Test of Airbus Helicopters H145(EC145 T2) 41st Aviation Battalion, Aviation Regiment, Army Aviation Center, Royal Thai Army
กองพันบินที่๔๑ กรมบิน ศูนย์การบินทหารบก กองทัพบกไทยได้ดำเนินทดสอบการบินเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Airbus Helicopters H145(EC145 T2) ซึ่งเพิ่งจะได้รับมอบชุดแรกตามวิดีทัศน์ประชาสัมพันธ์นี้(น่าจะมีอย่างน้อย ๒เครื่อง)
โดยเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๘(2015) กองทัพบกไทยได้ลงนามจัดซื้อเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปแบบ EC145 T2(H145) จำนวน ๖เครื่องวงเงิน ๙๙๙,๒๐๗,๔๓๖บาท($30.66 million) กับบริษัท Airbus Helicopters ฝรั่งเศส/เยอรมนี
ก่อนหน้านี้กองทัพบกไทยได้จัดหาเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปแบบ ฮ.ท.๗๒ UH-72A Lakota จำนวน ๖เครื่อง จากบริษัท Airbus Helicopters สาขาอเมริกาเหนือ ซึ่งได้เกิดอุบัติเหตุสูญเสียไปหนึ่งเครื่องตกที่เชียงใหม่เมื่อ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ ตามที่ได้เคยรายงานไป
ทั้งนี้กองทัพบกไทยกำลังอยู่ระหว่างการจัดหาเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปเพื่อนำมาทดแทน ฮ.เก่าเช่น ฮ.ท.๑ UH-1H Huey ที่ใช้งานมานานจนหมดอายุการใช้งานและได้ปลดประจำการลงไปอีกหลายแบบครับ
Lockheed Martin ถอนอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ LRASM ออกจากโครงการกองทัพเรือสหรัฐ
Lockheed Martin Drops LRASM Out of Littoral Combat Ship/Frigate Missile Competition
A July 2016 test of the LRASM from a MK-41 launcher on the Navy’s Self Defense Test Ship. Lockheed Martin Photo
Lockheed Martin artist’s conception of the Long Range Anti-Ship Missile (LRASM). Lockheed Martin Photo
https://news.usni.org/2017/05/24/lockheed-martin-drops-lrasm-frigate-missile-competition
บริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯตัดสินใจที่จะถอนอาวุธปล่อยนำวิถี Long Range Anti-Ship Missile(LRASM) ออกจากการแข่งขันโครงการจัดหาอาวุธปล่อยนำวิถีเหนือขอบฟ้าของกองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy) สำหรับเรือ Littoral Combat Ship(LCS) และเรือฟริเกต
ตามที่เจ้าหน้าที่บริษัทได้ยืนยันกับ USNI ที่ได้รับเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมว่า "หลังการพิจารณาที่ยาวนานและรอบคอบ Lockheed Martin ได้ตัดสินใจจะถอนตัวจากการแข่งขันโครงการ Over-the-Horizon Weapon System(OTH-WS) ของกองทัพเรือสหรัฐฯ
ตามที่ขณะนี้ขั้นตอนคัดเลือกเอกสารขอข้อเสนอ(RFP: Request for Proposal)ได้เลยเวลาไป มันเป็นที่ชัดเจนว่าการเสนอของเราไม่ได้เป็นที่คุ้มค่าเต็มที่ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมต่อ RFP Lockheed Martin อาจจะทบทวนความต้องการใหม่ และประเมินว่าขีดความสามารถของเราจะดีตรงความต้องการของกองทัพเรือสหรัฐฯตามที่เราต้องการกับ RFP หรือไม่"
LRASM เป็นอาวุธปล่อยนำวิถีที่พัฒนาจากอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นร่อน AGM-158 Joint Air-to-Surface Standoff Missile(JASSM) ซึ่งได้ถูกพัฒนาในฐานะส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการเร่งด่วนของกองบัญชาการแปซิฟิกกองทัพสหรัฐฯ(USPACOM: United States Pacific Command)
สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นต่อต้านเรือผิวน้ำร่อนที่จะใช้กับเครื่องบินขับไล่ Boeing F/A-18E/F Super Hornet กองทัพเรือสหรัฐฯ และเครื่องบินทิ้งระเบิด Boeing B-1B Lancer กองทัพอากาศสหรัฐฯ
โดยที่มีการพัฒนาควบคู่ไปกับรุ่นยิงจากอากาศยาน Lockheed Martin ยังได้ใช้ทุนวิจัยและพัฒนาภายในสำหรับการพัฒนารุ่นยิงจากเรือผิวน้ำและรุ่นยิงจากเรือดำน้ำด้วย
ก่อนหน้าในเดือนพฤษภาคมนี้บริษัท Boeing สหรัฐฯได้ถอนอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ RGM-84 Harpoon ของตนออกจากการแข่งขันโครงการ OTH ไปแล้วเช่นเดียวกับ Lockheed Martin ทั้งสองบริษัทแสดงความกังวลว่ากองทัพเรือสหรัฐฯให้การพิจารณาที่น้อยมากในด้านขีดความสามารถทางเครือข่ายของระบบอาวุธ
"Lockheed Martin เชื่ออย่างหนักแน่นว่าเราได้เสนอคุณค่าที่สำคัญ ซึ่งกองทัพเรือสหรัฐฯมีความคุ้นเคยกับโครงการ LRASM รุ่นยิงจากอากาศยานมาก่อน เราจะเดินหน้าการลงทุนของเราในการขยับขยายขีดความสามารถของ LRASM รุ่นยิงจากเรือผิวน้ำสำหรับการแข่งขันในอนาคต ที่ซึ่งความอยู่รอด, พิสัยยิงไกล, และการสังหารต่อเรือศัตรูที่มีขีดความสามารถสูงสุดเป็นความต้องการ
จากความสำเร็จล่าสุดในการสาธิตการยิงจากระบบท่อยิงแนวดิ่ง(VLS: Vertical Launching System) การทดสอบยิงจากแท่นยิงแนวเฉียง(Topside Launcher) จะมีในฤดูร้อนสำหรับรุ่นที่ไม่ได้ยิงจาก VLS จะแสดงถึงความยืดหนุ่นและหลายหลายของ LRASM กับกองเรือผิวน้ำ"
Scott Callaway ผู้อำนวยการอาวุธปล่อยนำวิถีร่อนความเร็วต่ำกว่าเสียงขั้นก้าวหน้า แผนกอาวุธปล่อยนำวิถีและระบบควบคุมการยิง Lockheed Martin แถลงกับ USNI
การถอนตัวของ Lockheed Martin และ Boeing ทำให้ผู้เข้าแข่งขันในโครงการ OTH เหลือเพียงรายเดียวคือทีมร่วมระหว่าง Kongsberg นอร์เวย์กับ Raytheon สหรัฐฯที่เสนออาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ Naval Strike Missile(NSM)
ซึ่งอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM ได้มีการทดสอบยิงจากแท่นยิงแนวเฉียงบนเรือ LCS ชั้น Independence คือ LCS-4 USS Coronado ไปแล้ว(http://aagth1.blogspot.com/2015/10/lcs.html)
ทั้งนี้ทั้ง LRASM และ Harpoon ได้กำลังถูกนำไปพัฒนาเป็นรุ่นยิงจากอากาศยานตามคำสั่งของกองบัญชาการระบบอากาศนาวี(Naval Air Systems Command) ครับ
Lockheed Martin artist’s conception of the Long Range Anti-Ship Missile (LRASM). Lockheed Martin Photo
https://news.usni.org/2017/05/24/lockheed-martin-drops-lrasm-frigate-missile-competition
บริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯตัดสินใจที่จะถอนอาวุธปล่อยนำวิถี Long Range Anti-Ship Missile(LRASM) ออกจากการแข่งขันโครงการจัดหาอาวุธปล่อยนำวิถีเหนือขอบฟ้าของกองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy) สำหรับเรือ Littoral Combat Ship(LCS) และเรือฟริเกต
ตามที่เจ้าหน้าที่บริษัทได้ยืนยันกับ USNI ที่ได้รับเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมว่า "หลังการพิจารณาที่ยาวนานและรอบคอบ Lockheed Martin ได้ตัดสินใจจะถอนตัวจากการแข่งขันโครงการ Over-the-Horizon Weapon System(OTH-WS) ของกองทัพเรือสหรัฐฯ
ตามที่ขณะนี้ขั้นตอนคัดเลือกเอกสารขอข้อเสนอ(RFP: Request for Proposal)ได้เลยเวลาไป มันเป็นที่ชัดเจนว่าการเสนอของเราไม่ได้เป็นที่คุ้มค่าเต็มที่ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมต่อ RFP Lockheed Martin อาจจะทบทวนความต้องการใหม่ และประเมินว่าขีดความสามารถของเราจะดีตรงความต้องการของกองทัพเรือสหรัฐฯตามที่เราต้องการกับ RFP หรือไม่"
LRASM เป็นอาวุธปล่อยนำวิถีที่พัฒนาจากอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นร่อน AGM-158 Joint Air-to-Surface Standoff Missile(JASSM) ซึ่งได้ถูกพัฒนาในฐานะส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการเร่งด่วนของกองบัญชาการแปซิฟิกกองทัพสหรัฐฯ(USPACOM: United States Pacific Command)
สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นต่อต้านเรือผิวน้ำร่อนที่จะใช้กับเครื่องบินขับไล่ Boeing F/A-18E/F Super Hornet กองทัพเรือสหรัฐฯ และเครื่องบินทิ้งระเบิด Boeing B-1B Lancer กองทัพอากาศสหรัฐฯ
โดยที่มีการพัฒนาควบคู่ไปกับรุ่นยิงจากอากาศยาน Lockheed Martin ยังได้ใช้ทุนวิจัยและพัฒนาภายในสำหรับการพัฒนารุ่นยิงจากเรือผิวน้ำและรุ่นยิงจากเรือดำน้ำด้วย
ก่อนหน้าในเดือนพฤษภาคมนี้บริษัท Boeing สหรัฐฯได้ถอนอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ RGM-84 Harpoon ของตนออกจากการแข่งขันโครงการ OTH ไปแล้วเช่นเดียวกับ Lockheed Martin ทั้งสองบริษัทแสดงความกังวลว่ากองทัพเรือสหรัฐฯให้การพิจารณาที่น้อยมากในด้านขีดความสามารถทางเครือข่ายของระบบอาวุธ
"Lockheed Martin เชื่ออย่างหนักแน่นว่าเราได้เสนอคุณค่าที่สำคัญ ซึ่งกองทัพเรือสหรัฐฯมีความคุ้นเคยกับโครงการ LRASM รุ่นยิงจากอากาศยานมาก่อน เราจะเดินหน้าการลงทุนของเราในการขยับขยายขีดความสามารถของ LRASM รุ่นยิงจากเรือผิวน้ำสำหรับการแข่งขันในอนาคต ที่ซึ่งความอยู่รอด, พิสัยยิงไกล, และการสังหารต่อเรือศัตรูที่มีขีดความสามารถสูงสุดเป็นความต้องการ
จากความสำเร็จล่าสุดในการสาธิตการยิงจากระบบท่อยิงแนวดิ่ง(VLS: Vertical Launching System) การทดสอบยิงจากแท่นยิงแนวเฉียง(Topside Launcher) จะมีในฤดูร้อนสำหรับรุ่นที่ไม่ได้ยิงจาก VLS จะแสดงถึงความยืดหนุ่นและหลายหลายของ LRASM กับกองเรือผิวน้ำ"
Scott Callaway ผู้อำนวยการอาวุธปล่อยนำวิถีร่อนความเร็วต่ำกว่าเสียงขั้นก้าวหน้า แผนกอาวุธปล่อยนำวิถีและระบบควบคุมการยิง Lockheed Martin แถลงกับ USNI
การถอนตัวของ Lockheed Martin และ Boeing ทำให้ผู้เข้าแข่งขันในโครงการ OTH เหลือเพียงรายเดียวคือทีมร่วมระหว่าง Kongsberg นอร์เวย์กับ Raytheon สหรัฐฯที่เสนออาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ Naval Strike Missile(NSM)
ซึ่งอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM ได้มีการทดสอบยิงจากแท่นยิงแนวเฉียงบนเรือ LCS ชั้น Independence คือ LCS-4 USS Coronado ไปแล้ว(http://aagth1.blogspot.com/2015/10/lcs.html)
ทั้งนี้ทั้ง LRASM และ Harpoon ได้กำลังถูกนำไปพัฒนาเป็นรุ่นยิงจากอากาศยานตามคำสั่งของกองบัญชาการระบบอากาศนาวี(Naval Air Systems Command) ครับ
วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
เบลารุสพัฒนาเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องพิสัยไกลใหม่ Polonez
Belarus to develop new long-range MRL
A Polonez B-200BM combat vehicle at MILEX 2017. As well as a longer-range version being developed, the system may also be adapted to fire the 750 mm M20 guided missile (shown in the foreground). Source: N Novichkov
http://www.janes.com/article/70744/belarus-to-develop-new-long-range-mrl
tech.onliner.by
ภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงเบลารุสได้พัฒนาเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง(MRL: Multiple Rocket Launcher) แบบใหม่ของตนซึ่งมีระยะยิงไกลถึง 300km
ตามที่โฆษกของคณะกรรมาธิการอุตสาหกรรมทหารรัฐบาลเบลารุส(GKVP) กล่าวกับ Jane's ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ MILEX 2017 ที่ Minsk ระหว่างวันที่ 20-22 พฤษภาคมที่ผ่านมา
"ตามที่ได้รับการสั่งจัดหาโดย GKVP โรงงานไฟฟ้า-เครื่องจักรความแม่นยำ ZTEM ได้เริ่มการพัฒนาเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องที่มีระยะยิงไกลถึง 300km ด้วยกรอบการทำงานความร่วมมือที่จัดตั้งขึ้น การผลิตภายในท้องถิ่นของมันควรจะมีถึง 85%" โฆษก GKVP กล่าว
เขาเสริมว่าการทดสอบยิงจริงครั้งแรกของระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องใหม่นี้มีกำหนดในเดือนตุลาคมนี้
ทางการชี้ให้เห็นว่าการส่งมอบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง B-200 Polonez ซึ่งมีระยะยิง 200km ให้กองทัพเบลารุสเป็นหนึ่งในความสำเร็จของอุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศในปี 2016
ระบบดังกล่าวถูกผลิตภายในประเทศเบลารุสโดยมีความช่วยเหลือในการพัฒนาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งมีพื้นฐานจากระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง A200 ที่พัฒนาโดย China Aerospace Science and Technology Corporation(CASC) จีน
การปรับปรุงเป็นจรวดรุ่นระยะยิง 300km จะถูกกำหนดแบบเป็น B-300 โดยถูกนำเสนอสำหรับการส่งออกต่างประเทศโดยรัฐวิสาหกิจด้านการส่งออกอาวุธยุทโปกรณ์ของรัฐบาลเบลารุส Belspetsvneshtekhnika โดยระบบน่าจะถูกทดสอบและรับรองโดยกองทัพเบลารุสก่อน
ระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง Polonez ซึ่งเปิดตัวครั้งแรกในงาน MILEX 2017 ประกอบด้วยรถฐานยิง B-200BM, รถบรรทุกและบรรจุจรวด B-200TMZ และรถที่บังคับการและควบคุม(C2: Command and Control) B-200BMU
Polonez ถูกออกแแบบมาสำหรับการโจมตีหน่วยยานเกราะ, สิ่งปลูกสร้าง, ศูนย์สัญญาณสื่อสาร และระบบอาวุธอื่นๆ จรวด B-200 มีระยะยิง 50-200km และพร้อมยิงได้ในเวลา 10นาที กองพล คจลก.Polonez จะมีอัตรากระสุนจรวดที่ 144นัด
รถฐานยิงจรวด B-200BM จะติดตั้งจรวดขนาด 301mm พร้อมยิง 8ท่อยิงในสองรางยิง จรวดติดตั้งบนรถบรรทุกหนัก MZKT-7930-300 8x8 ที่ผลิตโดย Minsk Wheeled Tractor ซึ่งรับน้ำหนักได้สูงสุด 46tons พลประจำรถ 3นาย ทำความเร็วบนถนนได้สูงสุด 70km/h
ทั้งนี้ Polonez ยังน่าจะสามารถใช้จรวดนำวิถี M20 ขนาด 750mm(ขีปนาวุธพิสัยใกล้ SRBM: Short-Rage Ballistic Missile แบบ DF-12 จีนรุ่นส่งออก) ระยะยิง 280-400km ที่นำมาจัดแสดงใกล้กันด้วยครับ
A Polonez B-200BM combat vehicle at MILEX 2017. As well as a longer-range version being developed, the system may also be adapted to fire the 750 mm M20 guided missile (shown in the foreground). Source: N Novichkov
http://www.janes.com/article/70744/belarus-to-develop-new-long-range-mrl
tech.onliner.by
ภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงเบลารุสได้พัฒนาเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง(MRL: Multiple Rocket Launcher) แบบใหม่ของตนซึ่งมีระยะยิงไกลถึง 300km
ตามที่โฆษกของคณะกรรมาธิการอุตสาหกรรมทหารรัฐบาลเบลารุส(GKVP) กล่าวกับ Jane's ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ MILEX 2017 ที่ Minsk ระหว่างวันที่ 20-22 พฤษภาคมที่ผ่านมา
"ตามที่ได้รับการสั่งจัดหาโดย GKVP โรงงานไฟฟ้า-เครื่องจักรความแม่นยำ ZTEM ได้เริ่มการพัฒนาเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องที่มีระยะยิงไกลถึง 300km ด้วยกรอบการทำงานความร่วมมือที่จัดตั้งขึ้น การผลิตภายในท้องถิ่นของมันควรจะมีถึง 85%" โฆษก GKVP กล่าว
เขาเสริมว่าการทดสอบยิงจริงครั้งแรกของระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องใหม่นี้มีกำหนดในเดือนตุลาคมนี้
ทางการชี้ให้เห็นว่าการส่งมอบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง B-200 Polonez ซึ่งมีระยะยิง 200km ให้กองทัพเบลารุสเป็นหนึ่งในความสำเร็จของอุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศในปี 2016
ระบบดังกล่าวถูกผลิตภายในประเทศเบลารุสโดยมีความช่วยเหลือในการพัฒนาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งมีพื้นฐานจากระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง A200 ที่พัฒนาโดย China Aerospace Science and Technology Corporation(CASC) จีน
การปรับปรุงเป็นจรวดรุ่นระยะยิง 300km จะถูกกำหนดแบบเป็น B-300 โดยถูกนำเสนอสำหรับการส่งออกต่างประเทศโดยรัฐวิสาหกิจด้านการส่งออกอาวุธยุทโปกรณ์ของรัฐบาลเบลารุส Belspetsvneshtekhnika โดยระบบน่าจะถูกทดสอบและรับรองโดยกองทัพเบลารุสก่อน
ระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้อง Polonez ซึ่งเปิดตัวครั้งแรกในงาน MILEX 2017 ประกอบด้วยรถฐานยิง B-200BM, รถบรรทุกและบรรจุจรวด B-200TMZ และรถที่บังคับการและควบคุม(C2: Command and Control) B-200BMU
Polonez ถูกออกแแบบมาสำหรับการโจมตีหน่วยยานเกราะ, สิ่งปลูกสร้าง, ศูนย์สัญญาณสื่อสาร และระบบอาวุธอื่นๆ จรวด B-200 มีระยะยิง 50-200km และพร้อมยิงได้ในเวลา 10นาที กองพล คจลก.Polonez จะมีอัตรากระสุนจรวดที่ 144นัด
รถฐานยิงจรวด B-200BM จะติดตั้งจรวดขนาด 301mm พร้อมยิง 8ท่อยิงในสองรางยิง จรวดติดตั้งบนรถบรรทุกหนัก MZKT-7930-300 8x8 ที่ผลิตโดย Minsk Wheeled Tractor ซึ่งรับน้ำหนักได้สูงสุด 46tons พลประจำรถ 3นาย ทำความเร็วบนถนนได้สูงสุด 70km/h
ทั้งนี้ Polonez ยังน่าจะสามารถใช้จรวดนำวิถี M20 ขนาด 750mm(ขีปนาวุธพิสัยใกล้ SRBM: Short-Rage Ballistic Missile แบบ DF-12 จีนรุ่นส่งออก) ระยะยิง 280-400km ที่นำมาจัดแสดงใกล้กันด้วยครับ
วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
จีนและกองทัพเรือพม่าร่วมการฝึกผสมทางเรือระหว่างกันครั้งแรก
China holds first joint exercise with Myanmar Navy
Warships from the Chinese and Myanmar navies led by guided-missile frigate UMS Aung Zeya steam in formation during a joint maritime exercise on 21 May. Source: Via JZ.81.cn
http://www.janes.com/article/70671/china-holds-first-joint-exercise-with-myanmar-navy
Myanmar Navy's F14 UMS Sinbyushin at Singapore International Maritime Review(IMR), IMDEX Asia 2017
https://www.facebook.com/www.myanmarnavy.org/posts/1512667922108691
กองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีน(PLAN: People's Liberation Army Navy) และกองทัพเรือพม่า(Myanmar Navy) ได้ดำเนินการฝึกผสมร่วมทางเรือระหว่างกันเป็นครั้งแรก
ซึ่งเป็นก้าวย่างสำคัญของจีนในการแผ่ขยายอำนาจทางของกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนไปยังภูมิภาคอ่าวเบงกอลและมหาสมุทรอินเดีย(IOR: Bay of Bengal and the Indian Ocean Region)
ในการฝึกร่วมกำลังทางเรือของกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีนประกอบด้วย เรือพิฆาตติดอาวุธปล่อยนำวิถีชั้น Type 052C DDG-150 Changchun, เรือฟริเกตติดอาวุธปล่อยนำวิถีชั้น Type 054A FFG-532 Jingzhou และเรือส่งกำลังบำรุง Type 903A Chaohu(890)
โดยหมู่เรือเฉพาะกิจกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีนได้เข้าเทียบท่าเรือ Thilawa ใน Yangon เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ซึ่งการเยือนพม่าเป็นส่วนหนึ่งของการทูตทางเรือระยะยาว 6เดือน ที่เดินทางจาก Shanghai กองเรือทะเลตะวันออกจีนเมื่อปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมา
ซึ่งหมู่เรือเฉพาะกิจจีนจะได้เข้าเทียบท่าประเทศต่างๆในเอเชีย, แอฟริกา ยุโรป และแปซิฟิก โดยก่อนหน้าการเยือนพม่าที่มีกำหนดระยะเป็นเวลา 4วัน หมู่เรือจีนได้เดินทางเทียบท่าที่ฟิลิปปินส์, เวียดนาม และมาเลเซียมาแล้ว
การฝึกเป็นเวลา 1วัน ณ อ่าวมะตะบัน(Gulf of Martaban) กองทัพเรือพม่าได้ส่งกำลังทางเรือของตน เช่น เรือฟริเกตติดอาวุธปล่อยนำวิถี F11 UMS Aung Zeya และเรือคอร์เวตติดอาวุธปล่อยนำวิถี UMS Anawrahta 771 ซึ่งเป็นเรือฟริเกตและเรือคอร์เวตลำแรกที่พม่าต่อเองในประเทศร่วมฝึก
ตามที่โฆษกกระทรวงกลาโหมจีนแถลง การฝึกครั้งนี้ได้มุ่งเน้นไปที่การจัดกระบวนเรือดำเนินกลยุทธ์, การสื่อสารของกองเรือ และปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยร่วม
สื่อจีนรายงานนักวิเคราะห์ทางเรือใน Beijing ที่กล่าวว่า หลังการแลกเปลี่ยนทางทหารระหว่าจีน-พม่าที่ "อ่อนแอและส่วนมากเป็นในเชิงสัญลักษณ์" การฝึกทางเรือร่วมล่าสุดนี้ได้แสดงถึง "สัญญาณที่ดีของความร่วมมือบนพื้นฐานความไว้วางใจทางการเมืองระหว่างกันของทั้งสองฝ่าย"
ภายหลังการฝึกดังกล่าวหมู่เรือเฉพาะกิจกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีนได้เดินทางไปเทียบท่าที่ Chittagong ในบังคลาเทศต่อไป
ทั้งนี้ก่อนหน้าในการสวนสนามทางเรือ International Maritime Review(IMR) ในงานแสดงยุทโธปกรณ์ทางเรือ IMDEX Asia 2017 ที่สิงคโปร์วันที่ 16-18 พฤษภาคม กองทัพเรือพม่าได้ส่งเรือฟริเกต Stealth F14 UMS Sinbyushin ที่ต่อเองในประเทศเข้าร่วมงานด้วยครับ(มีทหารเรือพม่าที่เป็นสุภาพสตรีร่วมการฝึกไปกับเรือด้วยครับ)
http://www.janes.com/article/70671/china-holds-first-joint-exercise-with-myanmar-navy
Myanmar Navy's F14 UMS Sinbyushin at Singapore International Maritime Review(IMR), IMDEX Asia 2017
https://www.facebook.com/www.myanmarnavy.org/posts/1512667922108691
กองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีน(PLAN: People's Liberation Army Navy) และกองทัพเรือพม่า(Myanmar Navy) ได้ดำเนินการฝึกผสมร่วมทางเรือระหว่างกันเป็นครั้งแรก
ซึ่งเป็นก้าวย่างสำคัญของจีนในการแผ่ขยายอำนาจทางของกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนไปยังภูมิภาคอ่าวเบงกอลและมหาสมุทรอินเดีย(IOR: Bay of Bengal and the Indian Ocean Region)
ในการฝึกร่วมกำลังทางเรือของกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีนประกอบด้วย เรือพิฆาตติดอาวุธปล่อยนำวิถีชั้น Type 052C DDG-150 Changchun, เรือฟริเกตติดอาวุธปล่อยนำวิถีชั้น Type 054A FFG-532 Jingzhou และเรือส่งกำลังบำรุง Type 903A Chaohu(890)
โดยหมู่เรือเฉพาะกิจกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีนได้เข้าเทียบท่าเรือ Thilawa ใน Yangon เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ซึ่งการเยือนพม่าเป็นส่วนหนึ่งของการทูตทางเรือระยะยาว 6เดือน ที่เดินทางจาก Shanghai กองเรือทะเลตะวันออกจีนเมื่อปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมา
ซึ่งหมู่เรือเฉพาะกิจจีนจะได้เข้าเทียบท่าประเทศต่างๆในเอเชีย, แอฟริกา ยุโรป และแปซิฟิก โดยก่อนหน้าการเยือนพม่าที่มีกำหนดระยะเป็นเวลา 4วัน หมู่เรือจีนได้เดินทางเทียบท่าที่ฟิลิปปินส์, เวียดนาม และมาเลเซียมาแล้ว
การฝึกเป็นเวลา 1วัน ณ อ่าวมะตะบัน(Gulf of Martaban) กองทัพเรือพม่าได้ส่งกำลังทางเรือของตน เช่น เรือฟริเกตติดอาวุธปล่อยนำวิถี F11 UMS Aung Zeya และเรือคอร์เวตติดอาวุธปล่อยนำวิถี UMS Anawrahta 771 ซึ่งเป็นเรือฟริเกตและเรือคอร์เวตลำแรกที่พม่าต่อเองในประเทศร่วมฝึก
ตามที่โฆษกกระทรวงกลาโหมจีนแถลง การฝึกครั้งนี้ได้มุ่งเน้นไปที่การจัดกระบวนเรือดำเนินกลยุทธ์, การสื่อสารของกองเรือ และปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยร่วม
สื่อจีนรายงานนักวิเคราะห์ทางเรือใน Beijing ที่กล่าวว่า หลังการแลกเปลี่ยนทางทหารระหว่าจีน-พม่าที่ "อ่อนแอและส่วนมากเป็นในเชิงสัญลักษณ์" การฝึกทางเรือร่วมล่าสุดนี้ได้แสดงถึง "สัญญาณที่ดีของความร่วมมือบนพื้นฐานความไว้วางใจทางการเมืองระหว่างกันของทั้งสองฝ่าย"
ภายหลังการฝึกดังกล่าวหมู่เรือเฉพาะกิจกองทัพเรือปลดปล่อยประชาชนจีนได้เดินทางไปเทียบท่าที่ Chittagong ในบังคลาเทศต่อไป
ทั้งนี้ก่อนหน้าในการสวนสนามทางเรือ International Maritime Review(IMR) ในงานแสดงยุทโธปกรณ์ทางเรือ IMDEX Asia 2017 ที่สิงคโปร์วันที่ 16-18 พฤษภาคม กองทัพเรือพม่าได้ส่งเรือฟริเกต Stealth F14 UMS Sinbyushin ที่ต่อเองในประเทศเข้าร่วมงานด้วยครับ(มีทหารเรือพม่าที่เป็นสุภาพสตรีร่วมการฝึกไปกับเรือด้วยครับ)
วันอังคารที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
รัสเซียประกาศแผนการรับมอบรถถังหลัก T-14 Armata ชุดแรก
Russia announces delivery plan for first batch of Armata tanks
T-14 Armata MBTs roll across Red Square during this year's 9 May Victory Day military parade in Moscow marking the 72nd anniversary of the victory of the 'Great Patriotic War'. Source: M Metzel/TASS/PA
http://www.janes.com/article/70620/russia-announces-delivery-plan-for-first-batch-of-armata-tanks
กองทัพบกรัสเซียได้ประกาศว่ารถถังหลักยุคหน้า T-14 Armata ที่พัฒนาโดย Uralvagonzavod จะเข้าสู่การนำเข้าประจำการเพื่อปฏิบัติการขั้นต้นใน กรมรถถังพิทักษ์รัฐที่1 กองพลทหารราบปืนเล็กยานเกราะพิทักษ์รัฐที่2 Tamanskaya ตามที่ Izvestiya รายงานไปเมื่อ 12 พฤษภาคมที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามรายงานข่าวได้ย้ำเตือนว่ารถถังใหม่นี้จะยังไม่เข้าประจำการก่อนปี 2020 การประกาศนี้มีขึ้นหนึ่งสัปดาห์หลังช่วงวันหยุดยาวเดือนพฤษภาคมที่เริ่มขึ้นเมื่อต้นเดือนและสิ้นสุดหลังพิธีสวนสนามวันประกาศชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่2 เมื่อ 9 พฤษภาคม ที่ Red Square ใน Moscow
หน่วยที่ตั้งที่รถถังหลัก T-14 Armata จะเข้าประจำการนั้นเป็นหน่วยทหารที่มีชื่อเสียงซึ่งเป็นความเคลื่อนไหวที่เฉพาะเจาะจงเป็นพิเศษโดยกระทรวงกลาโหมรัสเซีย และมีจุดประสงค์ในสร้างผลสะท้อนในเชิงบวกมากกว่าหนึ่งภาคส่วนของยุทโธปกรณ์ในกองทัพรัฐบาลรัสเซีย
กรมรถถังพิทักษ์รัฐที่1 เป็นหน่วยรถถังในตำนานของกองทัพบกรัสเซีย ที่เคยเป็นหน่วยรบหนึ่งของกองทัพโซเวียตที่บุกเข้า Berlin เยอรมนีในช่วงวันสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่2 ในยุโรป
การจัดวางกำลังที่ตั้งของรถถังรุ่นใหม่ล่าสุดของรัสเซียในหน่วยที่เป็นที่สุดของหน่วยรบในตำนานนี้ มีวัตถุประสงค์ที่มากกว่าที่จะสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกและเป็น "ภาพที่ระลึกบนไปรษณียบัตร" วันประกาศชัยชนะ
กระทรวงกลาโหมรัสเซียยังหวังที่ "จะเป็นการกระตุ้นการปรับปรุงโดยทั่วไปของระดับการศึกษา และความสามารถในการใช้ของระบบอาวุธหลายหลายประเภท ระหว่างกำลังพลระดับชั้นต่างๆของกองทัพ" ตามสื่อสิ่งพิมพ์รัสเซียให้ความเห็น
จนเมื่อเร็วๆนี้ T-14 จะยังไม่พบว่าถูกใช้งานในหน่วยอันทรงเกียรติดังกล่าว "ตั้งแต่ปี 2009 กรมรถถังพิทักษ์รัฐที่1 ได้เป็นส่วนหนึ่งของกองพล Tamansky แต่ระหว่างการปรับโครงสร้างโดยอดีตรัฐมนตรีกลาโหมรัสเซีย Anatoly Serdyukov กรมร่วมกับหน่วยขึ้นตรงในกองพลนี้ถูกยุบไป
ตราและธงประจำหน่วยได้ถูกส่งมอบให้กับ กองพลน้อยทหารราบปืนเล็กยานเกราะภูเขาที่8 แต่เมื่อสิ้นปีที่แล้วกระทรวงกลาโหมรัสเซียตัดสินใจที่ที่จะจัดตั้งกรมรถถังในตำนานนี้ขึ้นมาใหม่" Izvestiya รายงานครับ
T-14 Armata MBTs roll across Red Square during this year's 9 May Victory Day military parade in Moscow marking the 72nd anniversary of the victory of the 'Great Patriotic War'. Source: M Metzel/TASS/PA
http://www.janes.com/article/70620/russia-announces-delivery-plan-for-first-batch-of-armata-tanks
กองทัพบกรัสเซียได้ประกาศว่ารถถังหลักยุคหน้า T-14 Armata ที่พัฒนาโดย Uralvagonzavod จะเข้าสู่การนำเข้าประจำการเพื่อปฏิบัติการขั้นต้นใน กรมรถถังพิทักษ์รัฐที่1 กองพลทหารราบปืนเล็กยานเกราะพิทักษ์รัฐที่2 Tamanskaya ตามที่ Izvestiya รายงานไปเมื่อ 12 พฤษภาคมที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามรายงานข่าวได้ย้ำเตือนว่ารถถังใหม่นี้จะยังไม่เข้าประจำการก่อนปี 2020 การประกาศนี้มีขึ้นหนึ่งสัปดาห์หลังช่วงวันหยุดยาวเดือนพฤษภาคมที่เริ่มขึ้นเมื่อต้นเดือนและสิ้นสุดหลังพิธีสวนสนามวันประกาศชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่2 เมื่อ 9 พฤษภาคม ที่ Red Square ใน Moscow
หน่วยที่ตั้งที่รถถังหลัก T-14 Armata จะเข้าประจำการนั้นเป็นหน่วยทหารที่มีชื่อเสียงซึ่งเป็นความเคลื่อนไหวที่เฉพาะเจาะจงเป็นพิเศษโดยกระทรวงกลาโหมรัสเซีย และมีจุดประสงค์ในสร้างผลสะท้อนในเชิงบวกมากกว่าหนึ่งภาคส่วนของยุทโธปกรณ์ในกองทัพรัฐบาลรัสเซีย
กรมรถถังพิทักษ์รัฐที่1 เป็นหน่วยรถถังในตำนานของกองทัพบกรัสเซีย ที่เคยเป็นหน่วยรบหนึ่งของกองทัพโซเวียตที่บุกเข้า Berlin เยอรมนีในช่วงวันสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่2 ในยุโรป
การจัดวางกำลังที่ตั้งของรถถังรุ่นใหม่ล่าสุดของรัสเซียในหน่วยที่เป็นที่สุดของหน่วยรบในตำนานนี้ มีวัตถุประสงค์ที่มากกว่าที่จะสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกและเป็น "ภาพที่ระลึกบนไปรษณียบัตร" วันประกาศชัยชนะ
กระทรวงกลาโหมรัสเซียยังหวังที่ "จะเป็นการกระตุ้นการปรับปรุงโดยทั่วไปของระดับการศึกษา และความสามารถในการใช้ของระบบอาวุธหลายหลายประเภท ระหว่างกำลังพลระดับชั้นต่างๆของกองทัพ" ตามสื่อสิ่งพิมพ์รัสเซียให้ความเห็น
จนเมื่อเร็วๆนี้ T-14 จะยังไม่พบว่าถูกใช้งานในหน่วยอันทรงเกียรติดังกล่าว "ตั้งแต่ปี 2009 กรมรถถังพิทักษ์รัฐที่1 ได้เป็นส่วนหนึ่งของกองพล Tamansky แต่ระหว่างการปรับโครงสร้างโดยอดีตรัฐมนตรีกลาโหมรัสเซีย Anatoly Serdyukov กรมร่วมกับหน่วยขึ้นตรงในกองพลนี้ถูกยุบไป
ตราและธงประจำหน่วยได้ถูกส่งมอบให้กับ กองพลน้อยทหารราบปืนเล็กยานเกราะภูเขาที่8 แต่เมื่อสิ้นปีที่แล้วกระทรวงกลาโหมรัสเซียตัดสินใจที่ที่จะจัดตั้งกรมรถถังในตำนานนี้ขึ้นมาใหม่" Izvestiya รายงานครับ
วันจันทร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ปากีสถานมองการนำเครื่องบินฝึกใบพัด Super Mushshak ติดอาวุธในภารกิจต่อต้านการก่อความไม่สงบ
Pakistan looks at COIN role for Super Mushshak aircraft
PAC is fitting weapons onto its Super Mushshaks. This aircraft is armed with two Chinese FT-10s PGBs in late April. (Alan Warnes)
http://www.janes.com/article/70586/pakistan-looks-at-coin-role-for-super-mushshak-aircraft
Pakistan Aeronautical Complex(PAC) รัฐวิสาหกิจด้านอุตสาหกรรมอากาศยานปากีสถานที่มีที่ตั้งใน Kamra ทางตอนเหนือของประเทศ กำลังมองหาแนวทางการนำเครื่องบินฝึกใบพัด Super Mushshak มาติดอาวุธใช้ในภารกิจต่อต้านการก่อความไม่สงบ(COIN: Counter-Insurgency)
การเดินหน้านี้มีหลังจากความสำเร็จในการนำระบบห้องนักบิน Glass Cockpit มาติดตั้งกับเครื่องบินฝึกขั้นประถม Super Mushshak ที่ส่งออกให้กับไนจีเรีย 10เครื่อง, กาตาร์ 8เครื่อง และตุรกี 52เครื่องเมื่อปีที่ผ่านมา
ขณะนี้ PAC กำลังเพิ่มขีดความสามารถด้านข่าวกรอง, การตรวจการณ์ และลาดตระเวน(ISR: Intelligence, Surveillance and Reconnaissance) กับเครื่องด้วยการติดตั้งกล้อง EO/IR(Eletro-Optic/Infrared)
โดยมี Super Mushshak 1เครื่องที่ได้ติดตั้งกล้องตรวจการณ์ L3 Wescam MX-10 แล้ว ประธานของ PAC พลอากาศโท Arshad Malik บอกกับ Jane's ว่า "เรามีลูกค้าหลายรายได้สอบถามเกี่ยวกับการบูรณาการระบบ ISR ดังนั้นเรากำลังมองหาตัวเลือก
ขณะที่ในที่นั่งขวาของห้องนักบินเจ้าหน้าที่ป้อมกล้องจะควบคุมกล้องและมองภาพวิดีทัศน์ที่แสดงบนจอกระจก เป็นเวลาเดียวกับที่ภาพจะสามารถเชื่อมโยงกับผู้บัญชาการการรบที่ภาคพื้นดิน มันเป็นระบบที่ง่ายมาก" นายพลอากาศโทกล่าวเสริม
การริเริ่มขั้นที่สองคือการติดอาวุธให้ Super Mushshak หลังจากการวิเคราะห์ด้านอากาศพลศาสตร์และโครงสร้างขั้นต้น หนึ่งในนั้นคือการนำระเบิดนำวิถีความแม่นยำสูง FT-10 ขนาด 25kg ของจีนติดตั้งที่ปีกข้างละ 1นัดเมื่อ 29 เมษายนที่ผ่านมา
การบูรณาการระบบจะเสร็จสิ้นคาดว่าต้องใช้เวลาประมาณ 3-4เดือน ซึ่งจะยังครอบคลุมการออกแบบและการสร้างตำบลติดตั้งอาวุธ, การตรวจสอบคุณภาพ, การบินทดสอบ และการประเมินการทดสอบการทิ้งอาวุธ
ประธาน PAC ชี้ให้เห็นว่าเพื่อความสะดวกของนักบิน "PAC กำลังอยู่ในขั้นตอนของการรวม Servos สำหรับ Autopilot ด้วย" การออกแบบระบบใหม่จะช่วยให้นักบินควบคุมเครื่องได้อย่างที่ควรไม่มีความไม่แน่นอนทางอากาศพลศาสตร์ใดๆหลังทิ้งระเบิดหนึ่งลูกหรือทั้งสองลูก
ผู้เชี่ยวชาญของ PAC ที่ Kamra แผนกออกแบบ, วิทยาการ และบูรณาการ ยอมรับว่ามันต้องใช้เวลาสักระยะในการยืนยันและทำให้เป็นผลทางกายภาพในการค้นหาการวิเคราะห์ทางอากาศพลศาสตร์ครับ
PAC is fitting weapons onto its Super Mushshaks. This aircraft is armed with two Chinese FT-10s PGBs in late April. (Alan Warnes)
http://www.janes.com/article/70586/pakistan-looks-at-coin-role-for-super-mushshak-aircraft
Pakistan Aeronautical Complex(PAC) รัฐวิสาหกิจด้านอุตสาหกรรมอากาศยานปากีสถานที่มีที่ตั้งใน Kamra ทางตอนเหนือของประเทศ กำลังมองหาแนวทางการนำเครื่องบินฝึกใบพัด Super Mushshak มาติดอาวุธใช้ในภารกิจต่อต้านการก่อความไม่สงบ(COIN: Counter-Insurgency)
การเดินหน้านี้มีหลังจากความสำเร็จในการนำระบบห้องนักบิน Glass Cockpit มาติดตั้งกับเครื่องบินฝึกขั้นประถม Super Mushshak ที่ส่งออกให้กับไนจีเรีย 10เครื่อง, กาตาร์ 8เครื่อง และตุรกี 52เครื่องเมื่อปีที่ผ่านมา
ขณะนี้ PAC กำลังเพิ่มขีดความสามารถด้านข่าวกรอง, การตรวจการณ์ และลาดตระเวน(ISR: Intelligence, Surveillance and Reconnaissance) กับเครื่องด้วยการติดตั้งกล้อง EO/IR(Eletro-Optic/Infrared)
โดยมี Super Mushshak 1เครื่องที่ได้ติดตั้งกล้องตรวจการณ์ L3 Wescam MX-10 แล้ว ประธานของ PAC พลอากาศโท Arshad Malik บอกกับ Jane's ว่า "เรามีลูกค้าหลายรายได้สอบถามเกี่ยวกับการบูรณาการระบบ ISR ดังนั้นเรากำลังมองหาตัวเลือก
ขณะที่ในที่นั่งขวาของห้องนักบินเจ้าหน้าที่ป้อมกล้องจะควบคุมกล้องและมองภาพวิดีทัศน์ที่แสดงบนจอกระจก เป็นเวลาเดียวกับที่ภาพจะสามารถเชื่อมโยงกับผู้บัญชาการการรบที่ภาคพื้นดิน มันเป็นระบบที่ง่ายมาก" นายพลอากาศโทกล่าวเสริม
การริเริ่มขั้นที่สองคือการติดอาวุธให้ Super Mushshak หลังจากการวิเคราะห์ด้านอากาศพลศาสตร์และโครงสร้างขั้นต้น หนึ่งในนั้นคือการนำระเบิดนำวิถีความแม่นยำสูง FT-10 ขนาด 25kg ของจีนติดตั้งที่ปีกข้างละ 1นัดเมื่อ 29 เมษายนที่ผ่านมา
การบูรณาการระบบจะเสร็จสิ้นคาดว่าต้องใช้เวลาประมาณ 3-4เดือน ซึ่งจะยังครอบคลุมการออกแบบและการสร้างตำบลติดตั้งอาวุธ, การตรวจสอบคุณภาพ, การบินทดสอบ และการประเมินการทดสอบการทิ้งอาวุธ
ประธาน PAC ชี้ให้เห็นว่าเพื่อความสะดวกของนักบิน "PAC กำลังอยู่ในขั้นตอนของการรวม Servos สำหรับ Autopilot ด้วย" การออกแบบระบบใหม่จะช่วยให้นักบินควบคุมเครื่องได้อย่างที่ควรไม่มีความไม่แน่นอนทางอากาศพลศาสตร์ใดๆหลังทิ้งระเบิดหนึ่งลูกหรือทั้งสองลูก
ผู้เชี่ยวชาญของ PAC ที่ Kamra แผนกออกแบบ, วิทยาการ และบูรณาการ ยอมรับว่ามันต้องใช้เวลาสักระยะในการยืนยันและทำให้เป็นผลทางกายภาพในการค้นหาการวิเคราะห์ทางอากาศพลศาสตร์ครับ
วันอาทิตย์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
เฮลิคอปเตอร์โจมตี AH-64E Apache Guardian กองทัพบกอินโดนีเซียทำการบินครั้งแรก
Indonesian Army's Boeing AH-64E Apache Guardian Attack Helicopter first batch flight test at U.S.A.(photo by Wayan Agus/Penerbad)
http://angkasa.grid.id/info/militer/apache-puspenerbad-jalani-uji-terbang/
ภาพที่เปิดเผยล่าสุดช่วงวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมาในสังคม online อินโดนีเซียนั้นแสดงภาพการทดสอบการบินครั้งแรกของเฮลิคอปเตอร์โจมตี Boeing AH-64E Apache Guardian ของกองทัพบกอินโดนีเซีย(TNI-AD: Tentara Nasional Indonesia-Angkatan Darat) ที่สหรัฐฯ
กองทัพบกอินโดนีเซียได้สั่งจัดหา ฮ.โจมตี AH-64E Apache จากบริษัท Boeing สหรัฐฯจำนวน 8เครื่องในการขายรูปแบบ FMS(Foreign Military Sale) วงเงิน $296 million เมื่อปี 2013
ตามที่มีข้อมูล AH-64E ของอินโดนีเซียชุดแรกได้ออกจากจากโรงงานอากาศยานของ Boeing เมื่อปลายปี 2016 โดยนักบินกองทัพบกอินโดนีเซียได้ทำการฝึกบินที่สหรัฐฯไปก่อนหน้าแล้ว
คาดว่ากองทัพบกอินโดนีเซียจะได้รับมอบ ฮ.โจมตี AH-64E ชุดแรก 3เครื่องภายในปี 2017 นี้ ซึ่งอาจจะทันการเข้าพิธีสวนสนามวันกองทัพอินโดนีเซียในเดือนตุลาคมนี้ และอีก 5เครื่องจะส่งมอบจนครบภายในปี 2018
เป็นที่เข้าใจว่า ฮ.โจมตี AH-64E Apache ทั้ง 8เครื่องจะเข้าประจำการในฝูงบินที่11 กองบัญชาการการบินกองทัพบกอินโดนีเซีย(Puspenerbad: Pusat Penerbangan Angkatan Darat) ซึ่งมีที่ตั้งที่ Semarang เช่นเดียวกับฝูงบินที่31 ที่มี ฮ.จู่โจม Mi-35P ประจำการ 5เครื่อง
ทำให้กองทัพบกอินโดนีเซียเป็นประเทศที่สองในกลุ่ม ASEAN ที่จัดหา ฮ.โจมตี Apache เข้าประจำการ ต่อจากกองทัพอากาศสิงคโปร์ที่ได้จัดหาเฮลิคอปเตอร์โจมตี AH-64D Apache Longbow จำนวน 20เครื่องเข้าประจำการในช่วงปี 1999-2001 ครับ
วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
เฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนโจมตี Z-19E รุ่นส่งออกของจีนทำการบินครั้งแรก
Export version of China's Z-19 attack helo makes maiden flight
The Z-19E, the export version of the China's Z-19 attack helicopter, made its maiden flight on 18 May. Source: Via news.cn
http://www.janes.com/article/70558/export-version-of-china-s-z-19-attack-helo-makes-maiden-flight
เฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนติดอาวุธ/โจมตี Z-19E รุ่นสำหรับส่งออกที่พัฒนาโดย Harbin Aviation Industries (Group) Company (HAIG) สาธารณรัฐประชาชนจีนทำการบินทดสอบครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา
Z-19E ซึ่งเป็นรุ่นส่งออกของ ฮ.ลาดตระเวนติดอาวุธ/โจมตี Z-19 Black Whirlwind ที่มีประจำการในกองทัพอากาศปลดปล่อยนประชาชนจีน(PLAAF: People's Liberation Army Air Force) ทำการบินครั้งแรกเหนือเมือง Harbin ในมณฑล Heilongjiang ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน
"Z-19E ได้ดำเนินแสดงท่าทางการบินลอยตัวนิ่ง, การบินใกล้เรี่ยดพื้นดิน และการบินผ่านในระดับต่ำเหนือสนามบินเพื่อสาธิตสมรรถนะเครื่อง" รายงานโดยสำนักข่าว Xinhua จีน
สื่อยังได้รายงานคำกล่าวของ Aviation Industry Corporation of China(AVIC) รัฐวิสาหกิจด้านอุตสาหกรรมอากาศยานจีนซึ่งเป็นบริษัทแม่ของ HAIG ว่าเครื่องรุ่นนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ "ให้ตรงความต้องการของตลาดการค้าอาวุธระดับนานาชาติ"
เฮลิคอเตอร์แบบลำตัวเครื่องแคบ ที่นั่งเรียงกันนั้นเป็นเฮลิคอปเตอร์ที่เน้นเพื่อการส่งออกแบบแรกของจีน โดยรูปแบบห้องนักบินสามารถให้นักบินประจำเครื่องทั้งสองนายมีวิสัยทัศน์มุมมองที่ดี
"มันสามารถถูกนำไปวางกำลังเพื่อการสนับสนุนในสนามรบและภารกิจอื่นๆที่หลากหลายในสภาพแวดล้อมสนามรบที่ซับซ้อนทั้งกลางวันและกลางคืน ความคล่องแคล่วและความเป็นไปได้ในการอยู่รอดในสนามรบของมันได้พัฒนาให้สูงขึ้น" Li Shengwei รองหัวหน้านักออกแบบของ HAIG กล่าว
ฮ.ลาดตระเวนติดอาวุธ Z-19E มีน้ำหนักบินขึ้นสูงสุด 4.25tons ทำให้เป็น ฮ.ติดอาวุธขนาดเบาที่มีข้อได้เปรียบด้านความเร็วเดินทาง, อัตราการไต่ และเพดานบินที่ใช้ปฏิบัติการได้
ฮ.Z-19E ถูกพัฒนามาเพื่อการโจมตียานเกราะและเป้าหมายภาคพื้นดินอื่นๆ เห็นได้จากการบินทดสอบที่มีการติดตั้งอาวุธทั้ง กระเปาะปืนกลอากาศ, กระเปาะจรวด และอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นต่อสู้รถถังครับ
The Z-19E, the export version of the China's Z-19 attack helicopter, made its maiden flight on 18 May. Source: Via news.cn
http://www.janes.com/article/70558/export-version-of-china-s-z-19-attack-helo-makes-maiden-flight
เฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนติดอาวุธ/โจมตี Z-19E รุ่นสำหรับส่งออกที่พัฒนาโดย Harbin Aviation Industries (Group) Company (HAIG) สาธารณรัฐประชาชนจีนทำการบินทดสอบครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา
Z-19E ซึ่งเป็นรุ่นส่งออกของ ฮ.ลาดตระเวนติดอาวุธ/โจมตี Z-19 Black Whirlwind ที่มีประจำการในกองทัพอากาศปลดปล่อยนประชาชนจีน(PLAAF: People's Liberation Army Air Force) ทำการบินครั้งแรกเหนือเมือง Harbin ในมณฑล Heilongjiang ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน
"Z-19E ได้ดำเนินแสดงท่าทางการบินลอยตัวนิ่ง, การบินใกล้เรี่ยดพื้นดิน และการบินผ่านในระดับต่ำเหนือสนามบินเพื่อสาธิตสมรรถนะเครื่อง" รายงานโดยสำนักข่าว Xinhua จีน
สื่อยังได้รายงานคำกล่าวของ Aviation Industry Corporation of China(AVIC) รัฐวิสาหกิจด้านอุตสาหกรรมอากาศยานจีนซึ่งเป็นบริษัทแม่ของ HAIG ว่าเครื่องรุ่นนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ "ให้ตรงความต้องการของตลาดการค้าอาวุธระดับนานาชาติ"
เฮลิคอเตอร์แบบลำตัวเครื่องแคบ ที่นั่งเรียงกันนั้นเป็นเฮลิคอปเตอร์ที่เน้นเพื่อการส่งออกแบบแรกของจีน โดยรูปแบบห้องนักบินสามารถให้นักบินประจำเครื่องทั้งสองนายมีวิสัยทัศน์มุมมองที่ดี
"มันสามารถถูกนำไปวางกำลังเพื่อการสนับสนุนในสนามรบและภารกิจอื่นๆที่หลากหลายในสภาพแวดล้อมสนามรบที่ซับซ้อนทั้งกลางวันและกลางคืน ความคล่องแคล่วและความเป็นไปได้ในการอยู่รอดในสนามรบของมันได้พัฒนาให้สูงขึ้น" Li Shengwei รองหัวหน้านักออกแบบของ HAIG กล่าว
ฮ.ลาดตระเวนติดอาวุธ Z-19E มีน้ำหนักบินขึ้นสูงสุด 4.25tons ทำให้เป็น ฮ.ติดอาวุธขนาดเบาที่มีข้อได้เปรียบด้านความเร็วเดินทาง, อัตราการไต่ และเพดานบินที่ใช้ปฏิบัติการได้
ฮ.Z-19E ถูกพัฒนามาเพื่อการโจมตียานเกราะและเป้าหมายภาคพื้นดินอื่นๆ เห็นได้จากการบินทดสอบที่มีการติดตั้งอาวุธทั้ง กระเปาะปืนกลอากาศ, กระเปาะจรวด และอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นต่อสู้รถถังครับ
วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
Saab สวีเดนเปิดตัวเรือดำน้ำชั้น A26 ที่ติดตั้งท่อยิงแนวดิ่งสำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีร่อน Tomahawk
Saab A26 submarine gets vertical launched Tomahawks
Singapore – Saab has unveiled a modified A26 submarine fitted with vertical launched land attack cruise missiles at the IMDEX Asia maritime and defense exhibition in Singapore, the first time such a system has been fitted on a conventionally powered boat.
http://www.defensenews.com/articles/saab-a26-submarine-gets-vertical-launched-tomahawks
twitter.com/sweeneygov
บริษัท Saab สวีเดนได้เปิดตัวเรือดำน้ำชั้น A26 ที่ติดตั้งท่อยิงแนวดิ่ง(VLS: Vertical Launching System) สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีร่อนโจมตีภาคพื้นดิน Tomahawk ในงานแสดงอาวุธทางทะเล IMDEX 2017 ที่สิงคโปร์ เป็นครั้งแรกที่ระบบลักษณะนี้ถูกติดตั้งกับเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าตามแบบ
แบบจำลองในส่วนจัดแสดงของ Saab แสดงท่อยิง VLS ทรงกระบอก 3ท่อยิงซึ่งแต่ละท่อติดตั้งท่อยิง VLS ย่อยสำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีร่อนยิงจากเรือดำน้ำใต้น้ำโจมตีภาคพื้นดิน UGM-109 TLAM(Tomahawk Land Attack Missile) 6นัด
ซึ่งท่อยิง VLS 3ท่อดังกล่าวถูกติดตั้งในส่วนขยายกลางตัวแบบจำลองเรือดำน้ำ A26 ทาง Saab กล่าวว่าเป็นส่วนพื้นที่ที่ขยายความยาวเพิ่มอีก 10m และเพิ่มระวางขับน้ำเรืออีก 400-500tons
ตามที่ Gunnar Öhlund หัวหน้าฝ่ายการตลาด Saab Kockums กล่าวส่วน module ที่ถูกเพิ่มความยาว "แสดงความยืดหยุ่นในปฏิบัติการภารกิจที่แตกต่างกัน" ของ A26
ซึ่งเขากล่าวว่าท่อยิง VLS ขนาดใหญ่สามารถใช้บรรจุและรับส่งยานใต้น้ำไร้คนขับ (UUV: Unmanned Underwater Vehicle) จนถึงหน่วยรบพิเศษ และนักประดาน้ำกองทัพเรือได้
(มีรูปแบบเดียวกับท่อยิงแนวดิ่งเอนกประสงค์ Virginia Payload Tubes และ Virginia Payload Module ของเรือดำน้ำโจมตีนิวเคลียร์ชั้น Virginia กองทัพเรือสหรัฐฯ)
Saab กล่าวว่าการเพิ่มส่วน Module ความยาวนี้สามารถติดตั้งได้กับเรือดำน้ำที่สร้างใหม่หรือติดตั้งเพิ่มเติมกับเรือดำน้ำที่มีอยู่แล้วในฐานะส่วนหนึ่งของโครงการปรับปรุงครึ่งอายุ(MLU: Mid-Life Upgrade)
ทาง Saab มีประสบการณ์หลังจากการปรับปรุงเรือดำน้ำชั้น Archer กองทัพเรือสิงคโปร์ซึ่งเดิมคือเรือดำน้ำชั้น A17 Västergötland กองทัพเรือสวีเดน โดยขยายความยาวตัวเรือเพิ่มอีก 12m เพื่อติดตั้งระบบขับเคลื่อน AIP(Air-Independent Propulsion) แบบเครื่องยนต์ Stirling
เมื่อ Defense News ถามถึงผลกระทบเพิ่มเติมเมื่อติดตั้งส่วนขยายนี้เพิ่มเติมต่อสมรรถนะของเรือดำน้ำ A26 นาย Öhlund กล่าวว่า Saab มีประสบการณ์ก่อนหน้ากับงานแบบเดียวกันในเรือดำน้ำอื่นที่ไม่ได้แสดงผลกระทบใดๆต่อประสิทธิภาพตัวเรือในภาพรวม
Defense News เข้าใจว่าอาวุธปล่อยนำวิถี Tomahawk TLAM ได้ถูกเสนอโดย Saab สำหรับโครงการจัดหาเรือดำน้ำใหม่ของกองทัพเรือประเทศในยุโรปที่เป็นไปได้
มีข้อเท็จจริงว่าการที่ Saab สามารถนำข้อเสนอระบบเช่นนี้ได้แสดงให้เห็นว่า Saab ได้รับการอนุมัติจากทางสหรัฐฯในการบูรณาการ Tomahawk กับเรือดำน้ำ A26 (ทั้งบริษัท Raytheon ผู้ผลิตและรัฐบาล)
Saab ปฏิเสธที่จะเปิดเผยว่าประเทศใดเป็นลูกค้าที่นำเสนอระบบนี้ แม้ว่าจะไม่มีประเทศในยุโรปมากนักที่มีโครงการจัดหาเรือดำน้ำใหม่ซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสหรัฐฯมากพอที่จะขาย Tomahawk ให้ครับ(ที่มีการคาดเดาคือเนเธอร์แลนด์หรือโปแลนด์ครับ http://aagth1.blogspot.com/2016/10/a26-saab.html)
Singapore – Saab has unveiled a modified A26 submarine fitted with vertical launched land attack cruise missiles at the IMDEX Asia maritime and defense exhibition in Singapore, the first time such a system has been fitted on a conventionally powered boat.
http://www.defensenews.com/articles/saab-a26-submarine-gets-vertical-launched-tomahawks
twitter.com/sweeneygov
บริษัท Saab สวีเดนได้เปิดตัวเรือดำน้ำชั้น A26 ที่ติดตั้งท่อยิงแนวดิ่ง(VLS: Vertical Launching System) สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีร่อนโจมตีภาคพื้นดิน Tomahawk ในงานแสดงอาวุธทางทะเล IMDEX 2017 ที่สิงคโปร์ เป็นครั้งแรกที่ระบบลักษณะนี้ถูกติดตั้งกับเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าตามแบบ
แบบจำลองในส่วนจัดแสดงของ Saab แสดงท่อยิง VLS ทรงกระบอก 3ท่อยิงซึ่งแต่ละท่อติดตั้งท่อยิง VLS ย่อยสำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีร่อนยิงจากเรือดำน้ำใต้น้ำโจมตีภาคพื้นดิน UGM-109 TLAM(Tomahawk Land Attack Missile) 6นัด
ซึ่งท่อยิง VLS 3ท่อดังกล่าวถูกติดตั้งในส่วนขยายกลางตัวแบบจำลองเรือดำน้ำ A26 ทาง Saab กล่าวว่าเป็นส่วนพื้นที่ที่ขยายความยาวเพิ่มอีก 10m และเพิ่มระวางขับน้ำเรืออีก 400-500tons
ตามที่ Gunnar Öhlund หัวหน้าฝ่ายการตลาด Saab Kockums กล่าวส่วน module ที่ถูกเพิ่มความยาว "แสดงความยืดหยุ่นในปฏิบัติการภารกิจที่แตกต่างกัน" ของ A26
ซึ่งเขากล่าวว่าท่อยิง VLS ขนาดใหญ่สามารถใช้บรรจุและรับส่งยานใต้น้ำไร้คนขับ (UUV: Unmanned Underwater Vehicle) จนถึงหน่วยรบพิเศษ และนักประดาน้ำกองทัพเรือได้
(มีรูปแบบเดียวกับท่อยิงแนวดิ่งเอนกประสงค์ Virginia Payload Tubes และ Virginia Payload Module ของเรือดำน้ำโจมตีนิวเคลียร์ชั้น Virginia กองทัพเรือสหรัฐฯ)
Saab กล่าวว่าการเพิ่มส่วน Module ความยาวนี้สามารถติดตั้งได้กับเรือดำน้ำที่สร้างใหม่หรือติดตั้งเพิ่มเติมกับเรือดำน้ำที่มีอยู่แล้วในฐานะส่วนหนึ่งของโครงการปรับปรุงครึ่งอายุ(MLU: Mid-Life Upgrade)
ทาง Saab มีประสบการณ์หลังจากการปรับปรุงเรือดำน้ำชั้น Archer กองทัพเรือสิงคโปร์ซึ่งเดิมคือเรือดำน้ำชั้น A17 Västergötland กองทัพเรือสวีเดน โดยขยายความยาวตัวเรือเพิ่มอีก 12m เพื่อติดตั้งระบบขับเคลื่อน AIP(Air-Independent Propulsion) แบบเครื่องยนต์ Stirling
เมื่อ Defense News ถามถึงผลกระทบเพิ่มเติมเมื่อติดตั้งส่วนขยายนี้เพิ่มเติมต่อสมรรถนะของเรือดำน้ำ A26 นาย Öhlund กล่าวว่า Saab มีประสบการณ์ก่อนหน้ากับงานแบบเดียวกันในเรือดำน้ำอื่นที่ไม่ได้แสดงผลกระทบใดๆต่อประสิทธิภาพตัวเรือในภาพรวม
Defense News เข้าใจว่าอาวุธปล่อยนำวิถี Tomahawk TLAM ได้ถูกเสนอโดย Saab สำหรับโครงการจัดหาเรือดำน้ำใหม่ของกองทัพเรือประเทศในยุโรปที่เป็นไปได้
มีข้อเท็จจริงว่าการที่ Saab สามารถนำข้อเสนอระบบเช่นนี้ได้แสดงให้เห็นว่า Saab ได้รับการอนุมัติจากทางสหรัฐฯในการบูรณาการ Tomahawk กับเรือดำน้ำ A26 (ทั้งบริษัท Raytheon ผู้ผลิตและรัฐบาล)
Saab ปฏิเสธที่จะเปิดเผยว่าประเทศใดเป็นลูกค้าที่นำเสนอระบบนี้ แม้ว่าจะไม่มีประเทศในยุโรปมากนักที่มีโครงการจัดหาเรือดำน้ำใหม่ซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสหรัฐฯมากพอที่จะขาย Tomahawk ให้ครับ(ที่มีการคาดเดาคือเนเธอร์แลนด์หรือโปแลนด์ครับ http://aagth1.blogspot.com/2016/10/a26-saab.html)