Taking it to next level, India readies submarine for Myanmar
The INS Sindhuvir will be used by the Myanmar Navy which is looking at acquiring its own submarine fleet in the coming years for training purposes.(https://twitter.com/radmsaratbabu)
INS Sindhurakshak at Portsmouth, UK, where it was berthed on its way to India after the mid-life overhaul(wikipedia.org)
https://economictimes.indiatimes.com/news/defence/taking-it-to-next-level-india-readies-submarine-for-myanmar/articleshow/70442448.cms
อินเดียวางแผนจะส่งเรือดำน้ำชั้น Sindhughosh ของตน(Project 877EKM รัสเซีย NATO กำหนดรหัสชั้น Kilo) แก่พม่า โดยเรือดำน้ำลำแรกของพม่าน่าจะถูกส่งมอบได้ภายในปี 2019 นี้หลังได้รับการปรับปรุงเรือใหม่ภายในอินเดีย
เรือดำน้ำ S58 INS Sindhuvir กองทัพเรืออินเดีย(Indian Navy) จะถูกใช้โดยกองทัพเรือพม่า(MN: Myanmar Navy, Tatmadaw Yei) สำหรับการฝึก ซึ่งกองทัพเรือพม่าที่กำลังมองแผนการจัดหาเรือดำน้ำสำหรับจัดตั้งกองเรือดำน้ำตนในอีกหลายปีที่จะถึงข้างหน้า
อินเดียได้จัดซื้อเรือดำน้ำชั้น Kilo จากรัสเซียในปี 1980s รวม 10ลำ โดยเรือกำลังได้รับการปรับปรุงความทันสมัยโดย Hindustan Shipyard Limited(HSL) รัฐวิสาหกิจอู่ต่อเรืออินเดียใน Visakhapatnam(Vizag) โดยแหล่งข่าวกล่าวว่างานปรับปรุงเรือน่าจะเสร็จสิ้นก่อนสิ้นปี 2019 นี้
แหล่งข่าวได้กล่าวกับ Economic Times อินเดียว่าการขออนุญาตที่จำเป็นได้รับการดำเนินการจากรัสเซียผู้สร้างดั้งเดิมของเรือดำน้ำชั้น Kilo และเรือจะได้รับการติดตั้งระบบที่พัฒนาในอินเดียเพื่อใช้นในการฝึกแก่กองทัพเรือพม่า
นี่เป็นหนึ่งในผลของการประชุมแลกเปลี่ยนระดับสูงระหว่างอินเดียและพม่าในหลายเดือนล่าสุดโดยผู้บัญชาการสูงสุดกองทัพพม่า(CDS Commander-in-Chief of Defence Services) พลเอกอาวุโส Min Aung Hlaing ได้เยือนทางอินเดียอย่างเป็นทางการ กระทรวงกลาโหมอินเดียกล่าวว่า
การเจรจากับพลเอกอาวุโส Min Aung Hlaing ได้มุ่งไปที่ "การขยายความร่วมือทางกลาโหม, ทบทวนการฝึกซ้อมรบร่วมและการฝึกแก่กองทัพพม่า, เสริมความแข็งแกร่งความมั่นคงทางทะเลโดยการการลาดตระเวนร่วม และขีดความสามารถการสร้างและพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกใหม่"
การส่งมอบเรือดำน้ำชั้น Kilo ของอินเดียแก่พม่าน่าจะได้รับการดำเนินการในรูปแบบวงเงินสินเชื่อ(LOC: Line of Credit) ที่ได้รับการการขยายโดยอินเดียแก่พม่าสำหรับการขีดความสามารถทางทหาร
แหล่งข่าวอินเดียกล่าวว่าสิ่งเหล่านี้มีตามมาหลังจากการเจรจาอย่างครอบคลุมยาวนานกับผู้นำระดับสูงของพม่าเป็นเวลามากกว่า 4ปีเพื่อทำความเข้าใจความต้องการทางกลาโหมของพม่า
ในฐานะส่วนหนึ่งของการสร้างขีดความสามารถทางทหารก่อนหน้านี้ในเดือนกรกฎาคม 2019 อินเดียได้ส่งมอบ Torpedo เบาปราบเรือดำน้ำขั้นก้าวหน้าแบบ Shyena ที่พัฒนาในอินเดียแก่กองทัพเรือพม่า เป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงการส่งออกอาวุธวงเงิน $38 million ที่มีการลงนามตั้งแต่ปี 2017
Torpedo เบาปราบเรือดำน้ำแบบ Shyena อินเดียถูกผลิตโดย บริษัท Bharat Dynamics Limited(BDL) รัฐวิสาหกิจผู้ผลิตกระสุนและอาวุธนำวิถีของอินเดีย(https://aagth1.blogspot.com/2019/07/torpedo-shyena.html)
ข้อตกลงการส่งมอบเรือดำน้ำมีตามมาหลังจากที่จีนได้มีความพยายามอย่างมากในการส่งมอบระบบเรือดำน้ำของตนในภูมิภาคเอเชีย โดยแหล่งข่าวกล่าวว่าจีนยังได้เจรจากับพม่าในการส่งมอบเรือดำน้ำเก่าของตนให้กองทัพเรือพม่า(https://aagth1.blogspot.com/2017/05/s26t.html)
ในปี 2017 กองทัพเรือบังคลาเทศ(Bangladesh Navy) ได้รับมอบเรือดำน้ำชั้น Type 035G (NATO กำหนดรหัสชั้น Ming) จากจีน 2ลำที่ได้รับการปรังปรุงใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงวงเงิน $203 million(https://aagth1.blogspot.com/2017/03/type-035-2.html)
ความเคลื่อนไหวดังกล่าวของจีนได้ถูกเฝ้ามองอย่างระมัดระวังจากอินเดีย ตามที่มันเป็นการแสดงสัญลักษณ์ถึงการขึ้นตรงกับอำนาจของประเทศเพื่อนบ้านอินเดียต่อรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน
แหล่งข่าวกล่าวว่าเรือดำน้ำชั้น Project 877 Kilo รัสเซียที่อินเดียส่งมอบใหม่พม่ามีขีดความสามารถสูงกว่าเรือดำน้ำชั้น Type 035G Ming ที่จีนขายให้บังคลาเทศอย่างมาก และมีความเหมาะสมกับการปฏิบัติการในภูมิภาคเอเชียใต้ตามที่ได้รับการพิสูจน์การใช้งานโดยกองทัพเรืออินเดียแล้ว
ข้อตกลงระหว่างอินเดียกับพม่ายังรวมถึงชุดการฝึกที่สำคัญเพื่อเตรียมการให้กองทัพเรือพม่าสำหรับการมีกองเรือขนาดใหญ่ขึ้นในอีกหลายปีต่อไปข้างหน้า ในเดือนมีนาคม 2019 พลเรือเอก Moe Aung ผู้บัญชาการกองทัพเรือพม่ากล่าว่าพม่าจะมีกองเรือดำน้ำในเร็วๆนี้
พล.ร.อ.Moe กล่าวว่าการจัดหาเรือดำน้ำเป็นส่วนหนึ่งของแผนระยะยาวที่รวมการฝึกกำลังพลที่จำเป็นอย่างน้อย 4ปี คณะนายทหารระดับสูงกองทัพพม่าได้เยือนรัสเซียเมื่อไม่กี่เดือนก่อนหน้าเพื่อเจรจาการจัดหาเรือดำน้ำและการฝึกหาประสบการณ์กับเรือดำน้ำ INS Sindhuvir อินเดียที่จะได้รับมอบครับ
วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
เกาหลีเหนือเผยภาพเรือดำน้ำใหม่ที่กำลังสร้างและยิงขีปนาวุธพิสัยใกล้
North Korea releases partial images of ‘newly built submarine’
North Korea released on 23 July partial images of what it described as a “newly built” submarine. Source: KCNA
https://www.janes.com/article/90053/north-korea-releases-partial-images-of-newly-built-submarine
Update: North Korea launches more short-range ballistic missiles
One of the short-range ballistic missiles that North Korea launched in 25 July in a “solemn warning [to] South Korean military warmongers”. Source: KCNA
https://www.janes.com/article/90111/update-north-korea-launches-more-short-range-ballistic-missiles
สำนักข่าว Korean Central News Agency(KCNA) ของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีได้เผยแพร่ภาพบางส่วนของสิ่งที่ถูกอธิบายว่าเป็นเรือดำน้ำที่ "สร้างขึ้นมาใหม่" เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2019
ชุดภาพได้แสดงถึงการตรวจเยี่ยมโดย Kim Jong-un ผู้นำสูงสุดแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ณ อู่ต่อเรือดำน้ำในสถานที่ที่ไม่เปิดเผย
สำนักข่าว KNCA เกาหลีเหนือได้รายงานในวันเดียวกันว่า เรือดำน้ำซึ่งได้ "ถูกออกแบบและสร้างเพื่อมีขีดความสามารถการนำความมุ่งหมายยุทธศาสตร์ทางทหารมาใช้อย่างเต็มรูปแบบของการปกครองโดยพรรคแรงงานเกาหลีภายใต้สภาพการณ์ต่างๆ"
จะ "ทำหน้าที่ของมันในน่านน้ำปฏิบัติการของทะเลเกาหลีตะวันออก"(หรือที่รู้จักในชื่อทะเลญี่ปุ่น) โดยเสริมว่าการวางกำลังปฏิบัติการของเรือดำน้ำใหม่ "อยู่ใกล้แค่เอื้อมมือ"
ผู้นำเกาหลีเหนือ Kim Jong-un ยังเน้นย้ำว่า "ความต้องการที่จะเพิ่มความหนักแน่นต่อเนื่องและความน่าเชื่อถือด้านขีดความสามารถทางกลาโหมแห่งชาติ โดยการกำกับความพยายามครั้งใหญ่เพื่อพัฒนาอาวุธและยุทโธปกรณ์ทางเรือเช่นเรือดำน้ำ"
ไม่มีการให้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบเรือดำน้ำหรือขีดความสามารถของมัน และไม่มีข้อมูลถูกเปิดเผยออกมาว่าเมื่อไรและที่ไหนที่ชุดภาพเหล่านี้ได้ถูกถ่าย
การพัฒนาล่าสุดนี้มีตามมาหลังจากที่ Website '38 North' ของสถาบันสหรัฐฯ-เกาหลี ณ โรงเรียนศึกษานานาชาติขั้นก้าวหน้า Paul H Nitze ของมหาวิทยาลัย Johns Hopkins ได้รายงานเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2019 ว่า
ภาพถ่ายจากดาวเทียมพาณิชย์ที่จับภาพได้ระหว่าง 11 เมษายน และ 5 พฤษภาคม 2019 ได้แสดงถึง "การก่อสร้างอย่างต่อเนื่องของความเป็นไปได้ว่าจะเป็นเรือดำน้ำติดขีปนาวุธ(SSB) ชั้น Sinpo(Gorea) อีกลำที่อู่เรือ Sinpo ใต้ทางชายฝั่งตะวันออกของเกาหลีเหนือ"
เมื่อ 12 เมษายน 2019 38 North ได้รายงานว่าภาพถ่ายดาวเทียมบ่งชี้ว่าการสร้างเรือดำน้ำดังกล่าวนี้ได้ดำเนินการมา "เป็นเวลาหลายปีแล้ว" ภาพถ่ายดาวเทียมที่อู่เรือ Sinpo ตลอดช่วงปี 2017 ยังบ่งชี้ว่า
งานดำเนินการเริ่มต้นกับส่วนตัวเรือถังความดันของเรือดำน้ำสำหรับศักยภาพความเป็นไปได้ที่เป็นการดัดแปลงของเรือดำน้ำติดขีปนาวุธชั้น Gorae ที่มีก่อนหน้า
เมื่อ 25 กรกฎาคม 2019 เกาหลีใต้ได้ทำการยิงสิ่งที่เกาหลีใต้อธิบายว่าเป็น "ขีปนาวุธพิสัยใกล้"(SRBM: Short-Range Ballistic Missile) ลงทะเลตะวันออก(ทะเลญี่ปุ่น)
เป็นการทดสอบยิงขีปนาวุธครั้งแรกหลังตั้งแต่ที่ผู้นำเกาหลีเหนือ Kim Jong-un และประธานาธิบดีสหรัฐฯ Donald Trump เห็นชอบที่จะเดินหน้าแผนการเจรจาปลดอาวุธนิวเคลียร์ในการประชุมที่จัดขึ้นเขตปลอดทหาร(Korean DMZ: Demilitarised Zone) เมื่อ 30 มิถุนายน 2019
คณะเสนาธิการร่วม(JCS: Joint Chiefs of Staff) กองทัพสาธารณรัฐเกาหลี(Republic of Korea Armed Forces) กล่าวในแถลงการณ์ว่าขีปนาวุธได้ถูกยิงในเวลา 0534 และ 0557(เวลาท้องถิ่น) ตามลำดับจากจากพื้นที่ใกล้เมื่อท่าฝั่งตะวันออก Wonsan ในจังหวัด Kangwon เกาหลีเหนือ
สำนักข่าว Yonhap เกาหลีใต้รายงานคำกล่าวของคณะเสนาธิการร่วมกองทัพสาธารณรัฐเกาหลีเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2019 ว่าขีปนาวุธทั้งสองนัดได้บินโคจรเป็นระยะทางราว 600km และมีเพดานบินโคจรที่ความสูงราว 50km
ภาพถ่ายของหนึ่งในขีปนาวุธที่กำลังถูกยิงจากฐานแท่นยิงแบบยกตั้งอัตตาจร(TEL: Transporter-Erector-Launcher) ซึ่งเผยแพร่โดยสำนักข่าว KCNA เกาหลีเหนือเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม แสดงถึงขีปนาวุธลักษณะเดียวกับที่เกาหลีเหนือได้ทดสอบยิงไปเมื่อวันที่ 4 และ 9 พฤษภาคม 2019
ขีปนาวุธพิสัยใกล้ซึ่งกองทัพสหรัฐฯกำหนดแบบคร่าวว่าๆ KN-23 ตัวจรวดมีความคล้ายคลึงกับขีปนาวุธตระกูล 9M723/9M723E ที่ใช้กับระบบขีปนาวุธพิสัยใกล้ Iskander ของรัสเซียครับ(https://aagth1.blogspot.com/2018/02/iskander-m-srbm.html)
North Korea released on 23 July partial images of what it described as a “newly built” submarine. Source: KCNA
https://www.janes.com/article/90053/north-korea-releases-partial-images-of-newly-built-submarine
Update: North Korea launches more short-range ballistic missiles
One of the short-range ballistic missiles that North Korea launched in 25 July in a “solemn warning [to] South Korean military warmongers”. Source: KCNA
https://www.janes.com/article/90111/update-north-korea-launches-more-short-range-ballistic-missiles
สำนักข่าว Korean Central News Agency(KCNA) ของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีได้เผยแพร่ภาพบางส่วนของสิ่งที่ถูกอธิบายว่าเป็นเรือดำน้ำที่ "สร้างขึ้นมาใหม่" เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2019
ชุดภาพได้แสดงถึงการตรวจเยี่ยมโดย Kim Jong-un ผู้นำสูงสุดแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ณ อู่ต่อเรือดำน้ำในสถานที่ที่ไม่เปิดเผย
สำนักข่าว KNCA เกาหลีเหนือได้รายงานในวันเดียวกันว่า เรือดำน้ำซึ่งได้ "ถูกออกแบบและสร้างเพื่อมีขีดความสามารถการนำความมุ่งหมายยุทธศาสตร์ทางทหารมาใช้อย่างเต็มรูปแบบของการปกครองโดยพรรคแรงงานเกาหลีภายใต้สภาพการณ์ต่างๆ"
จะ "ทำหน้าที่ของมันในน่านน้ำปฏิบัติการของทะเลเกาหลีตะวันออก"(หรือที่รู้จักในชื่อทะเลญี่ปุ่น) โดยเสริมว่าการวางกำลังปฏิบัติการของเรือดำน้ำใหม่ "อยู่ใกล้แค่เอื้อมมือ"
ผู้นำเกาหลีเหนือ Kim Jong-un ยังเน้นย้ำว่า "ความต้องการที่จะเพิ่มความหนักแน่นต่อเนื่องและความน่าเชื่อถือด้านขีดความสามารถทางกลาโหมแห่งชาติ โดยการกำกับความพยายามครั้งใหญ่เพื่อพัฒนาอาวุธและยุทโธปกรณ์ทางเรือเช่นเรือดำน้ำ"
ไม่มีการให้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบเรือดำน้ำหรือขีดความสามารถของมัน และไม่มีข้อมูลถูกเปิดเผยออกมาว่าเมื่อไรและที่ไหนที่ชุดภาพเหล่านี้ได้ถูกถ่าย
การพัฒนาล่าสุดนี้มีตามมาหลังจากที่ Website '38 North' ของสถาบันสหรัฐฯ-เกาหลี ณ โรงเรียนศึกษานานาชาติขั้นก้าวหน้า Paul H Nitze ของมหาวิทยาลัย Johns Hopkins ได้รายงานเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2019 ว่า
ภาพถ่ายจากดาวเทียมพาณิชย์ที่จับภาพได้ระหว่าง 11 เมษายน และ 5 พฤษภาคม 2019 ได้แสดงถึง "การก่อสร้างอย่างต่อเนื่องของความเป็นไปได้ว่าจะเป็นเรือดำน้ำติดขีปนาวุธ(SSB) ชั้น Sinpo(Gorea) อีกลำที่อู่เรือ Sinpo ใต้ทางชายฝั่งตะวันออกของเกาหลีเหนือ"
เมื่อ 12 เมษายน 2019 38 North ได้รายงานว่าภาพถ่ายดาวเทียมบ่งชี้ว่าการสร้างเรือดำน้ำดังกล่าวนี้ได้ดำเนินการมา "เป็นเวลาหลายปีแล้ว" ภาพถ่ายดาวเทียมที่อู่เรือ Sinpo ตลอดช่วงปี 2017 ยังบ่งชี้ว่า
งานดำเนินการเริ่มต้นกับส่วนตัวเรือถังความดันของเรือดำน้ำสำหรับศักยภาพความเป็นไปได้ที่เป็นการดัดแปลงของเรือดำน้ำติดขีปนาวุธชั้น Gorae ที่มีก่อนหน้า
เมื่อ 25 กรกฎาคม 2019 เกาหลีใต้ได้ทำการยิงสิ่งที่เกาหลีใต้อธิบายว่าเป็น "ขีปนาวุธพิสัยใกล้"(SRBM: Short-Range Ballistic Missile) ลงทะเลตะวันออก(ทะเลญี่ปุ่น)
เป็นการทดสอบยิงขีปนาวุธครั้งแรกหลังตั้งแต่ที่ผู้นำเกาหลีเหนือ Kim Jong-un และประธานาธิบดีสหรัฐฯ Donald Trump เห็นชอบที่จะเดินหน้าแผนการเจรจาปลดอาวุธนิวเคลียร์ในการประชุมที่จัดขึ้นเขตปลอดทหาร(Korean DMZ: Demilitarised Zone) เมื่อ 30 มิถุนายน 2019
คณะเสนาธิการร่วม(JCS: Joint Chiefs of Staff) กองทัพสาธารณรัฐเกาหลี(Republic of Korea Armed Forces) กล่าวในแถลงการณ์ว่าขีปนาวุธได้ถูกยิงในเวลา 0534 และ 0557(เวลาท้องถิ่น) ตามลำดับจากจากพื้นที่ใกล้เมื่อท่าฝั่งตะวันออก Wonsan ในจังหวัด Kangwon เกาหลีเหนือ
สำนักข่าว Yonhap เกาหลีใต้รายงานคำกล่าวของคณะเสนาธิการร่วมกองทัพสาธารณรัฐเกาหลีเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2019 ว่าขีปนาวุธทั้งสองนัดได้บินโคจรเป็นระยะทางราว 600km และมีเพดานบินโคจรที่ความสูงราว 50km
ภาพถ่ายของหนึ่งในขีปนาวุธที่กำลังถูกยิงจากฐานแท่นยิงแบบยกตั้งอัตตาจร(TEL: Transporter-Erector-Launcher) ซึ่งเผยแพร่โดยสำนักข่าว KCNA เกาหลีเหนือเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม แสดงถึงขีปนาวุธลักษณะเดียวกับที่เกาหลีเหนือได้ทดสอบยิงไปเมื่อวันที่ 4 และ 9 พฤษภาคม 2019
ขีปนาวุธพิสัยใกล้ซึ่งกองทัพสหรัฐฯกำหนดแบบคร่าวว่าๆ KN-23 ตัวจรวดมีความคล้ายคลึงกับขีปนาวุธตระกูล 9M723/9M723E ที่ใช้กับระบบขีปนาวุธพิสัยใกล้ Iskander ของรัสเซียครับ(https://aagth1.blogspot.com/2018/02/iskander-m-srbm.html)
วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
แคนาดาออกเอกสารขอข้อเสนอเครื่องบินขับไล่ใหม่ทดแทน CF-18
Canada releases fighter RFP
The Royal Canadian Air Force has a pressing need to replace its ageing legacy Hornet fighters, with the Gripen E, Typhoon, F-35 Lightning II, and Super Hornet, which are all lined up as potential candidates. (IHS Markit/Patrick Allen)
https://www.janes.com/article/90036/canada-releases-fighter-rfp
แคนาดาออกเอกสารขอข้อเสนอ(RFP: Request for Proposals) สำหรับเครื่องบินขับไล่ใหม่จำนวน 88เครื่องเพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินขับไล่ Boeing CF-18/CF-188 (F/A-18) Hornet ที่มีอายุการใช้งานมานานของตน
เอกสารขอข้อเสนอที่ออกโดยกระทรวงการบริการสาธารณะและการจัดซื้อจัดจ้างแคนาดา(PSPC: Public Services and Procurement Canada) เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2019 ได้ถูกส่งให้ผู้เข้าแข่งขัน 4รายจากสามประเทศ
ประกอบด้วยสวีเดนสำหรับเครื่องบินขับไล่ Saab Gripen E, สหราชอาณาจักรสำหรับเครื่องบินขับไล่ Eurofighter Typhoon(เข้าแข่งขันนำโดยบริษัท Airbus ยุโรปมากกว่าจะเป็นบริษัท BAE Systems สหราชอาณาจักรเนื่องจาก BAE ถือหุ้นในบริษัท Bombardier แคนาดา)
และสหรัฐฯสำหรับทั้งเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35A Lightning II Joint Strike Fighter(JSF) และเครื่องบินขับไล่ Boeing F/A-18E/F Super Hornet
บริษัทต่างๆเหล่านี้จะยื่นส่ง 'ข้อเสนอด้านความมั่นคง' ภายในไตรมาสที่สาม Q3 ของปี 2019 และตามมาด้วยการตอบรับกลับจากรัฐบาลแคนาดา บริษัทเหล่านี้อาจแก้ไขและส่งข้อเสนอใหม่อีกครั้งในฐานะส่วนหนึ่งของข้อเสนอเริ่มต้นในไตรมาสที่ 2 ปี 2020
"ผู้เข้าแข่งขันทุกรายจะขึ้นอยู่กับเกณฑ์การประเมินเดียวกัน และข้อเสนอจะได้รับการประเมินอย่างเข้มงวดในองค์ประกอบของข้อดีทางเทคนิค(ร้อยละ60), ราคา(ร้อยละ20) และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ(ร้อยละ20)" กระทรวงการบริการสาธารณะและการจัดซื้อจัดจ้างแคนาดากล่าว
"การจัดซื้อจัดจ้างนี้เชื่อได้ว่าเป็นหนึ่งในการชั่งน้ำหนักที่สูงที่สุดต่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจสำหรับแคนาดาในประวัติศาสตร์ ผู้จัดส่งทั้งหมดจำเป็นที่จะต้องมอบแผนสำหรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกับวงเงินของสัญญาข้อเสนอตน
โดยคะแนนสูงสุดจะมีเพียงการประกาศสัญญาต่อผู้จัดส่งที่มอบการรับประกันให้ตามสัญญาเท่านั้น" กระทรวงการบริการสาธารณะและการจัดซื้อจัดจ้างแคนาดาระบุ
แผนการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ซึ่งรัฐบาลแคนาดาย้ำว่าเป็นการลงทุนที่มีนัยสำคัญที่สุดของกองทัพอากาศแคนาดา(RCAF: Royal Canadian Air Force) ตั้งแต่การจัดหาเครื่องบินขับไล่ CF-18A/B(F/A-18A/B) รุ่นดั้งเดิมเมื่อมากกว่า 30ปีก่อน
เครื่องบินขับไล่ใหม่สำหรับกองทัพอากาศแคนาดาจะได้รับการลงนามสัญญาในปี 2022 และจะถูกนำเข้าประจำการตั้งแต่ปี 2025
ระหว่างการรอการคัดเลือกแบบเครื่องบินขับไล่ใหม่ กองทัพอากาศแคนาดาได้จัดหาเครื่องบินขับไล่ Boeing F/A-18A/B Hornet ที่เคยประจำการในกองทัพอากาศออสเตรเลีย(RAAF: Royal Australian Air Force) เพื่อเป็นเครื่องคั่นระยะชั่วคราว
โดยกองทัพอากาศแคนาดาได้รับมอบเครื่องบินขับไล่ F/A-18A มือสองจากออสเตรเลียสองเครื่องแรกเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2019 ณ กองบิน4 ฐานทัพอากาศ Cold Lake ใน Alberta ครับ(https://aagth1.blogspot.com/2019/02/fa-18a.html)
The Royal Canadian Air Force has a pressing need to replace its ageing legacy Hornet fighters, with the Gripen E, Typhoon, F-35 Lightning II, and Super Hornet, which are all lined up as potential candidates. (IHS Markit/Patrick Allen)
https://www.janes.com/article/90036/canada-releases-fighter-rfp
แคนาดาออกเอกสารขอข้อเสนอ(RFP: Request for Proposals) สำหรับเครื่องบินขับไล่ใหม่จำนวน 88เครื่องเพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินขับไล่ Boeing CF-18/CF-188 (F/A-18) Hornet ที่มีอายุการใช้งานมานานของตน
เอกสารขอข้อเสนอที่ออกโดยกระทรวงการบริการสาธารณะและการจัดซื้อจัดจ้างแคนาดา(PSPC: Public Services and Procurement Canada) เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2019 ได้ถูกส่งให้ผู้เข้าแข่งขัน 4รายจากสามประเทศ
ประกอบด้วยสวีเดนสำหรับเครื่องบินขับไล่ Saab Gripen E, สหราชอาณาจักรสำหรับเครื่องบินขับไล่ Eurofighter Typhoon(เข้าแข่งขันนำโดยบริษัท Airbus ยุโรปมากกว่าจะเป็นบริษัท BAE Systems สหราชอาณาจักรเนื่องจาก BAE ถือหุ้นในบริษัท Bombardier แคนาดา)
และสหรัฐฯสำหรับทั้งเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35A Lightning II Joint Strike Fighter(JSF) และเครื่องบินขับไล่ Boeing F/A-18E/F Super Hornet
บริษัทต่างๆเหล่านี้จะยื่นส่ง 'ข้อเสนอด้านความมั่นคง' ภายในไตรมาสที่สาม Q3 ของปี 2019 และตามมาด้วยการตอบรับกลับจากรัฐบาลแคนาดา บริษัทเหล่านี้อาจแก้ไขและส่งข้อเสนอใหม่อีกครั้งในฐานะส่วนหนึ่งของข้อเสนอเริ่มต้นในไตรมาสที่ 2 ปี 2020
"ผู้เข้าแข่งขันทุกรายจะขึ้นอยู่กับเกณฑ์การประเมินเดียวกัน และข้อเสนอจะได้รับการประเมินอย่างเข้มงวดในองค์ประกอบของข้อดีทางเทคนิค(ร้อยละ60), ราคา(ร้อยละ20) และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ(ร้อยละ20)" กระทรวงการบริการสาธารณะและการจัดซื้อจัดจ้างแคนาดากล่าว
"การจัดซื้อจัดจ้างนี้เชื่อได้ว่าเป็นหนึ่งในการชั่งน้ำหนักที่สูงที่สุดต่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจสำหรับแคนาดาในประวัติศาสตร์ ผู้จัดส่งทั้งหมดจำเป็นที่จะต้องมอบแผนสำหรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกับวงเงินของสัญญาข้อเสนอตน
โดยคะแนนสูงสุดจะมีเพียงการประกาศสัญญาต่อผู้จัดส่งที่มอบการรับประกันให้ตามสัญญาเท่านั้น" กระทรวงการบริการสาธารณะและการจัดซื้อจัดจ้างแคนาดาระบุ
แผนการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ซึ่งรัฐบาลแคนาดาย้ำว่าเป็นการลงทุนที่มีนัยสำคัญที่สุดของกองทัพอากาศแคนาดา(RCAF: Royal Canadian Air Force) ตั้งแต่การจัดหาเครื่องบินขับไล่ CF-18A/B(F/A-18A/B) รุ่นดั้งเดิมเมื่อมากกว่า 30ปีก่อน
เครื่องบินขับไล่ใหม่สำหรับกองทัพอากาศแคนาดาจะได้รับการลงนามสัญญาในปี 2022 และจะถูกนำเข้าประจำการตั้งแต่ปี 2025
ระหว่างการรอการคัดเลือกแบบเครื่องบินขับไล่ใหม่ กองทัพอากาศแคนาดาได้จัดหาเครื่องบินขับไล่ Boeing F/A-18A/B Hornet ที่เคยประจำการในกองทัพอากาศออสเตรเลีย(RAAF: Royal Australian Air Force) เพื่อเป็นเครื่องคั่นระยะชั่วคราว
โดยกองทัพอากาศแคนาดาได้รับมอบเครื่องบินขับไล่ F/A-18A มือสองจากออสเตรเลียสองเครื่องแรกเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2019 ณ กองบิน4 ฐานทัพอากาศ Cold Lake ใน Alberta ครับ(https://aagth1.blogspot.com/2019/02/fa-18a.html)
วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
สหรัฐฯอนุมัติความเป็นไปได้การขายยานเกราะล้อยาง Stryker ICV แก่กองทัพบกไทย
Thailand – Stryker Infantry Carrier Vehicles
https://www.dsca.mil/major-arms-sales/thailand-stryker-infantry-carrier-vehicles
U.S. Army Soldiers with 1/25 SBCT "Arctic Wolves" recently took part in exercise Arctic Anvil.(https://www.flickr.com/photos/soldiersmediacenter/45568122111/)
US Army's M1126 Stryker Infantry Carrier Vehicle (ICV) conduct Final Exercise (FinEx) with Royal Thai Army in Cobra Gold 2019(https://www.facebook.com/sompong.nondhasa)
กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯได้ตัดสินใจอนุมัติความเป็นไปได้ในการขายยานเกราะล้อยางลำเลียงพล Stryker Infantry Combat Vehicle(ICV) 8x8 จำนวน ๖๐คันพร้อมอุปกรณ์และสนับสนุนในรูปแบบการขาย Foreign Military Sale(FMS) เป็นวงเงินประมาณ $175 million
สำนักงานความร่วมมือด้านความปลอดภัยความมั่นคงสหรัฐฯ(DSCA: Defense Security Cooperation Agency) ได้ส่งการแจ้งเตือนการรับรองการร้องขอแก่สภา Congress สหรัฐฯเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการขายนี้เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๒(2019)
รัฐบาลไทยได้ร้องขอการจัดซื้อยานเกราะล้อยางลำเลียงพล Stryker ICV ๖๐คัน และปืนกลหนัก M2 Flex .50cal(12.7x99mm) ๖๐กระบอกยังรวมถึงอะไหล่ สิ่งอุปกรณ์เฉพาะสำหรับปฏิบัติการและซ่อมบำรุง, เครื่องมือพิเศษและอุปกรณ์ทดสอบ(STTE: Special Tools and Test Equipment),
คู่มือทางเทคนิค, เครื่องยิงลูกระเบิดควัน M6( ๔ชุดต่อคัน), กล้องขยายมุมมองเวลากลางคืนสถานีพลขับ AN/VAS-5 Driver's Vision Enhancer(DVE), ระบบสื่อสารภายในรถ AN/VIC-3, การบริการ การฝึก และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมวงเงินโครงการประมาณ $175 million(ราว ๕,๓๙๒ ล้านบาท)
ความเป็นไปได้ในการขายนี้จะสนับสนุนนโยบายต่างประเทศและวัตถุประสงค์ความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐฯโดยการให้ความช่วยเหลือการเพิ่มความมั่นคงแก่พันธมิตรนอก NATO(Major Non-NATO ally)
ในกองบัญชาการอินโด-แปซิฟิก(INDO-PACOM: US Indo-Pacific Command) กองทัพสหรัฐฯ ซึ่งเป็นกำลังสำคัญสำหรับความมั่นคงทางการเมืองและการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค
ยานเกราะล้อยาง Stryker จะเพิ่มขีดความสามารถของไทยเพื่อป้องกันดินแดนอธิปไตยของตนต่อภัยคุกคามตามแบบและนอกแบบ โดยเติมเต็มช่องว่างขีดความสามารถระหว่างทหารราบเบาและหน่วยยานเกราะหนัก ไทยจะไม่มีความยุ่งยากใดๆในการนำยุทโธปกรณ์นี้เข้าสูงกองทัพตน
ข้อเสนอการขายและการสนับสนุนนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงสมดุลทางทหารในภูมิภาค ผู้รับสัญญาสำหรับยานเกราะ Stryker คือ บริษัท General Dynamics Land Systems ใน Sterling Heights มลรัฐ Michigan ไม่มีข้อตกลงการชดเชยใดๆเกี่ยวข้องกับความเป็นไปได้ในการขายนี้
กองทัพบกไทย(RTA: Royal Thai Army) ได้ประกาศเมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ว่าได้ร้องขอการเสนอจัดซื้อยานเกราะล้อยางลำเลียงพล M1126 Stryker ICV 8x8 จากสหรัฐฯ(https://aagth1.blogspot.com/2019/05/stryker-icv.html)
โดยกองทัพบกไทยจะจัดหายานเกราะล้อยาง Stryker ICV จำนวน ๓๗คันวงเงินราว ๒,๙๖๐,๐๐๐,๐๐๐บาท($94 million) และจัดหารถเพิ่มเติมอีก ๒๓คันรวมทั้งหมด ๖๐คันในการจัดซื้อรูปแบบ FMS (เข้าใจว่าจะมีการแบ่งวงเงินทยอยจัดหาเป็นชุดๆในแต่ละปีเนื่องจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ)
เป็นที่เข้าใจว่ายานเกราะล้อยาง Stryker ICV จะถูกนำเข้าประจำการ ณ กองพลทหารราบที่๑๑ ฉะเชิงเทรา ในอัตรากองร้อยยานเกราะประจำกรมทหารราบ(เดิมใช้รถสายพานลำเลียง รสพ.M113) โดยคาดว่ารถชุดแรกจะส่งมอบให้กองทัพบกไทยได้ภายในปลายปี พ.ศ.๒๕๖๓(2020)
โดยกองทัพบกไทยมีแนวคิดการปรับรูปแบบการจัดกำลังหน่วยระดับกรมที่ตามอัตราจัดปัจจุบันหน่วยระดับกองพลจะมีหน่วยขึ้นตรง ๓กรม โดยใช้รูปแบบ กองพลน้อยชุดรบ(Brigade Combat Team) ของกองทัพบกสหรัฐฯ(US Army) มาปรับใช้ เช่น กองพลน้อยชุดรบยานเกราะล้อยาง Stryker BCT
มีข้อสังเกตุว่าตามเอกสารอนุมัติความเป็นไปได้การขายที่ออกโดย DSCA สหรัฐฯไม่ได้รวมถึงป้อมปืน Remote Weapon Station แบบ M151 Protector จากบริษัท Kongsberg นอร์เวย์สำหรับปืนกลหนัก M2 Flex .50cal โดยรถน่าจะติดเพียงแท่นยิงปืนกลแบบมีพลยิงบังคับด้วยมือนอกตัวรถ
ขณะที่ยานเกราะล้อยาง 8x8 ที่กองทัพบกไทยสั่งจัดหาก่อนหน้าคือ ยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3E1 APC(Armored Personnel Carrier) ยูเครน และยานเกราะล้อยาง VN1 จีน มีอาวุธหลักเป็นป้อมปืน Remote ติดปืนใหญ่กลขนาด 30x165mm ที่สถานีพลยิงควบคุมจากภายในรถครับ
https://www.dsca.mil/major-arms-sales/thailand-stryker-infantry-carrier-vehicles
U.S. Army Soldiers with 1/25 SBCT "Arctic Wolves" recently took part in exercise Arctic Anvil.(https://www.flickr.com/photos/soldiersmediacenter/45568122111/)
US Army's M1126 Stryker Infantry Carrier Vehicle (ICV) conduct Final Exercise (FinEx) with Royal Thai Army in Cobra Gold 2019(https://www.facebook.com/sompong.nondhasa)
กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯได้ตัดสินใจอนุมัติความเป็นไปได้ในการขายยานเกราะล้อยางลำเลียงพล Stryker Infantry Combat Vehicle(ICV) 8x8 จำนวน ๖๐คันพร้อมอุปกรณ์และสนับสนุนในรูปแบบการขาย Foreign Military Sale(FMS) เป็นวงเงินประมาณ $175 million
สำนักงานความร่วมมือด้านความปลอดภัยความมั่นคงสหรัฐฯ(DSCA: Defense Security Cooperation Agency) ได้ส่งการแจ้งเตือนการรับรองการร้องขอแก่สภา Congress สหรัฐฯเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการขายนี้เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๒(2019)
รัฐบาลไทยได้ร้องขอการจัดซื้อยานเกราะล้อยางลำเลียงพล Stryker ICV ๖๐คัน และปืนกลหนัก M2 Flex .50cal(12.7x99mm) ๖๐กระบอกยังรวมถึงอะไหล่ สิ่งอุปกรณ์เฉพาะสำหรับปฏิบัติการและซ่อมบำรุง, เครื่องมือพิเศษและอุปกรณ์ทดสอบ(STTE: Special Tools and Test Equipment),
คู่มือทางเทคนิค, เครื่องยิงลูกระเบิดควัน M6( ๔ชุดต่อคัน), กล้องขยายมุมมองเวลากลางคืนสถานีพลขับ AN/VAS-5 Driver's Vision Enhancer(DVE), ระบบสื่อสารภายในรถ AN/VIC-3, การบริการ การฝึก และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมวงเงินโครงการประมาณ $175 million(ราว ๕,๓๙๒ ล้านบาท)
ความเป็นไปได้ในการขายนี้จะสนับสนุนนโยบายต่างประเทศและวัตถุประสงค์ความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐฯโดยการให้ความช่วยเหลือการเพิ่มความมั่นคงแก่พันธมิตรนอก NATO(Major Non-NATO ally)
ในกองบัญชาการอินโด-แปซิฟิก(INDO-PACOM: US Indo-Pacific Command) กองทัพสหรัฐฯ ซึ่งเป็นกำลังสำคัญสำหรับความมั่นคงทางการเมืองและการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค
ยานเกราะล้อยาง Stryker จะเพิ่มขีดความสามารถของไทยเพื่อป้องกันดินแดนอธิปไตยของตนต่อภัยคุกคามตามแบบและนอกแบบ โดยเติมเต็มช่องว่างขีดความสามารถระหว่างทหารราบเบาและหน่วยยานเกราะหนัก ไทยจะไม่มีความยุ่งยากใดๆในการนำยุทโธปกรณ์นี้เข้าสูงกองทัพตน
ข้อเสนอการขายและการสนับสนุนนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงสมดุลทางทหารในภูมิภาค ผู้รับสัญญาสำหรับยานเกราะ Stryker คือ บริษัท General Dynamics Land Systems ใน Sterling Heights มลรัฐ Michigan ไม่มีข้อตกลงการชดเชยใดๆเกี่ยวข้องกับความเป็นไปได้ในการขายนี้
กองทัพบกไทย(RTA: Royal Thai Army) ได้ประกาศเมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ว่าได้ร้องขอการเสนอจัดซื้อยานเกราะล้อยางลำเลียงพล M1126 Stryker ICV 8x8 จากสหรัฐฯ(https://aagth1.blogspot.com/2019/05/stryker-icv.html)
โดยกองทัพบกไทยจะจัดหายานเกราะล้อยาง Stryker ICV จำนวน ๓๗คันวงเงินราว ๒,๙๖๐,๐๐๐,๐๐๐บาท($94 million) และจัดหารถเพิ่มเติมอีก ๒๓คันรวมทั้งหมด ๖๐คันในการจัดซื้อรูปแบบ FMS (เข้าใจว่าจะมีการแบ่งวงเงินทยอยจัดหาเป็นชุดๆในแต่ละปีเนื่องจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ)
เป็นที่เข้าใจว่ายานเกราะล้อยาง Stryker ICV จะถูกนำเข้าประจำการ ณ กองพลทหารราบที่๑๑ ฉะเชิงเทรา ในอัตรากองร้อยยานเกราะประจำกรมทหารราบ(เดิมใช้รถสายพานลำเลียง รสพ.M113) โดยคาดว่ารถชุดแรกจะส่งมอบให้กองทัพบกไทยได้ภายในปลายปี พ.ศ.๒๕๖๓(2020)
โดยกองทัพบกไทยมีแนวคิดการปรับรูปแบบการจัดกำลังหน่วยระดับกรมที่ตามอัตราจัดปัจจุบันหน่วยระดับกองพลจะมีหน่วยขึ้นตรง ๓กรม โดยใช้รูปแบบ กองพลน้อยชุดรบ(Brigade Combat Team) ของกองทัพบกสหรัฐฯ(US Army) มาปรับใช้ เช่น กองพลน้อยชุดรบยานเกราะล้อยาง Stryker BCT
มีข้อสังเกตุว่าตามเอกสารอนุมัติความเป็นไปได้การขายที่ออกโดย DSCA สหรัฐฯไม่ได้รวมถึงป้อมปืน Remote Weapon Station แบบ M151 Protector จากบริษัท Kongsberg นอร์เวย์สำหรับปืนกลหนัก M2 Flex .50cal โดยรถน่าจะติดเพียงแท่นยิงปืนกลแบบมีพลยิงบังคับด้วยมือนอกตัวรถ
ขณะที่ยานเกราะล้อยาง 8x8 ที่กองทัพบกไทยสั่งจัดหาก่อนหน้าคือ ยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3E1 APC(Armored Personnel Carrier) ยูเครน และยานเกราะล้อยาง VN1 จีน มีอาวุธหลักเป็นป้อมปืน Remote ติดปืนใหญ่กลขนาด 30x165mm ที่สถานีพลยิงควบคุมจากภายในรถครับ
วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
ยูเครนร่วมกับ DTI ไทยเปิดสายการผลิตยานเกราะที่บังคับการล้อยาง BTR-3KSH
Co-operation with Thailand allows Ukraine to launch command-and-control BTR-3KSH in serial production
https://ukroboronprom.com.ua/uk/media/kooperatsiya-iz-tayilandom-dozvolyaye-ukrayini-zapustyty-u-serijne-vyrobnytstvo-komandno-shtabnyj-btr-3ksh-gendyrektor-ukroboronpromu-pavlo-bukindk-ukroboronprom-vidpravyv-do-tayilandu-pershyj-mashyno.html
Ukroboronprom รัฐวิสาหกิจกลุ่มอุตสาหกรรมความมั่นคงยูเครนได้ชุดประกอบ Kit ของยานเกราะล้อยางที่บังคับการ BTR-3KSH 8x8 ชุดแรกแก่ไทยสำหรับการประกอบสร้างภายใต้สิทธิบัตรในประเทศไทย Pavlo Bukin ผู้อำนวยการทั่วไปของ Ukroboronprom ยูเครนกล่าว
"เราพิจารณาว่าการส่งออกนี้เป็นเครื่องหมายแสดงถึงความร่วมมืออย่างลึกซึ้งของเรากับไทยที่เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของยูเครนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยูเครนมุ่งมั่นอย่างจริงจังในทิศทางนี้และควรจะใช้พวกมันในผลประโยชน์ของชาติ" Bukin กล่าว
ตามข้อมูลของ Bukin หลายปีก่อนหน้าข้อตกลงกรอบการทำงานได้รับการลงนามกับหน่วยงานที่ได้รับมอบอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมไทยสำหรับการจัดตั้งสายการผลิตยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3E1 8x8 APC(Armoured Personnel Carrier)
รวมถึงยานเกราะล้อยางตระกูล BTR-3 รุ่นต่างๆที่มีพื้นฐานจากยานเกราะล้อยาง BTR-3E1 เช่นเดียวกับการมอบการให้บริการภายในประเทศไทย(https://aagth1.blogspot.com/2018/06/blog-post_18.html)
"ยานเกราะที่บังคับการ BTR-3KSH ที่มีพื้นฐานจากยานเกราะล้อยาง BTR-3 เป็นโครงการร่วมของโรงงานยานเกราะ Kiev(Kiev Armoured Vehicle Plant, KBTZ) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Ukroboronprom กับรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชนอื่นๆของยูเครน
BTR-3KSH ได้ถูกพัฒนาภายใต้การสั่งจัดหาจากกองทัพบกไทย(RTA: Royal Thai Army) ในความร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ สทป.(DTI: Defence Technology Institute) กระทรวงกลาโหมไทย" ผู้อำนวยการทั่วไป Ukroboronprom ยูเครน ให้ข้อมูล
ตามความเห็นของ Bukin ในสถานะปัจจุบันการขยายการส่งออกอาวุธยุทโธปกรณ์เป็นเพียงโอกาสหนึ่งในการส่งมอบการพัฒนานวัตกรรมของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆภายใน Ukroboronprom ยูเครน
"ความร่วมมือกับไทยทำให้ยูเครนสามารถจะขยายสายการผลิตของยานเกราะ BTR-3 และเปิดสายการผลิตจำนวนมากของรถรบชั้นนำระดับโลกแบบใหม่ทั้งหมดได้" เขากล่าว
BTR-3KSH เป็นรถรุ่นใหม่ในตระกูลยานเกราะล้อยาง BTR-3 ที่ติดตั้งระบบบัญชาการและควบคุมการรบอัตโนมัติที่ผสมผสนามการส่งข้อมูลด้วยการสื่อสาร Digital ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้งหน่วยถึงระดับกองพล, เป้าหมาย และความเสียหายจากการยิง
ระบบบริหารจัดการสนามรบ(BMS: Battle Management System) จะแสดงผลภาพที่สอดคล้องกันของ Computer ทางยุทธวิธี และให้ผู้ใช้งานจะส่งภารกิจการรบและควบคุมการปฏิบัติการแก่หน่วยดำเนินกลยุทธได้อย่างรวดเร็ว
BTR-3KSH ติดตั้งระบบอากาศยานไร้คนขับ(UAV: Unmanned Aerial Vehicle) กับตัวรถซึ่งทำให้สามารถรับข้อมูลคัดกรองได้อย่างอิสระ ปัจจุบัน UAV แบบ "Rama" จากสำนักออกแบบอากาศยานทั่วไปแห่งยูเครน(General Aviation Design Bureau of Ukraine) ได้ถูกใช้เป็นส่วนหนึ่งของรถ
และมีความเป็นได้ที่จะบูรณาการระบบไร้คนขับแบบใดๆและป้อมปืนขนาดเบาเข้ากับยานเกราะที่บังคับการนี้ คุณสมบัติของ BTR-3KSH ตัวรถสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 100km/h บนถนน และมีขีดความสามารถในการเคลื่อนที่ลอยตัวในน้ำ
โรงงานยานเกราะ Kiev ได้พร้อมเริ่มต้นชุดการทดสอบยานเกราะที่บังคับการ BTR-3KSH โดยร่วมกับกองทัพยูเครนตามคำสั่งเพื่อเริ่มต้นเปิดสายการผลิตจำนวยมากสำหรับการเข้าประจำการในกองทัพบกยูเครน(Ukrainian Army)
ในปี 2017 โรงงานยานเกราะ Kiev ได้รับสัญญาสร้างยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3DA รุ่นปรับปรุงใหม่จำนวน 20คันสำหรับกองกำลังความมั่นคงยูเครน แต่ขณะนี้ยังไม่มีการส่งมอบเนื่องจากกระทรวงกลาโหมยูเครนปฏิเสธที่จะเห็นชอบกับต้นทุนค่าวัสดุที่ทำให้ค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น
สัญญาที่เกี่ยวข้องของรัฐบาลยูเครนได้มีการสรุปราคาในเดือนเมษายน 2017 ระหว่างปี 2018 ราคาสิ่งอุปกรร์ประกอบ, พลังงานและอื่นๆได้ขยายเพิ่มสูงขึ้นอย่างมากซึ่งส่งผลต่อราคาค่าใช้จ่ายของยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3DA อย่างมีนัยสำคัญ
นอกจากนี้กระทรวงกลาโหมยูเครนยังไม่ได้แก้ไขปัญหาการอนุญาตให้เปิดสายผลิตยานเกราะจากต่างประเทศ ในการดำเนินการต่อคำถามที่ขัดแย้งกันจากจากกระทรวงกลาโหมยูเครน โรงงานยานเกราะ Kiev ได้ทำการยื่นเรื่องอุทธรณ์ต่อศาลยูเครน
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ DTI ร่วมกับ บริษัท Datagate co.,Ltd. ไทย และบริษัท Thales ยุโรป ได้ลงนามบันทึกข้อตกลง(MoA: Memorandum of Agreement) ในการปรับปรุงยานเกราะลำเลียงพลของกองทัพบกไทยโดยการถ่ายทอดองค์ความรู้และ Technology แก่ DTI ไทย
ด้วยการบูรณาการระบบ C5I(Computerised, Command, Control, Communications and Combat Information: คอมพิวเตอร์, บัญาการ, ควบคุม, สื่อสาร และข้อมูลการรบ) สำหรับการบัญชาการและควบคุมทางยุทธวิธีครับ(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/dti-thales-digital-indra-lanza-3d-radar.html)
https://ukroboronprom.com.ua/uk/media/kooperatsiya-iz-tayilandom-dozvolyaye-ukrayini-zapustyty-u-serijne-vyrobnytstvo-komandno-shtabnyj-btr-3ksh-gendyrektor-ukroboronpromu-pavlo-bukindk-ukroboronprom-vidpravyv-do-tayilandu-pershyj-mashyno.html
Ukroboronprom รัฐวิสาหกิจกลุ่มอุตสาหกรรมความมั่นคงยูเครนได้ชุดประกอบ Kit ของยานเกราะล้อยางที่บังคับการ BTR-3KSH 8x8 ชุดแรกแก่ไทยสำหรับการประกอบสร้างภายใต้สิทธิบัตรในประเทศไทย Pavlo Bukin ผู้อำนวยการทั่วไปของ Ukroboronprom ยูเครนกล่าว
"เราพิจารณาว่าการส่งออกนี้เป็นเครื่องหมายแสดงถึงความร่วมมืออย่างลึกซึ้งของเรากับไทยที่เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของยูเครนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยูเครนมุ่งมั่นอย่างจริงจังในทิศทางนี้และควรจะใช้พวกมันในผลประโยชน์ของชาติ" Bukin กล่าว
ตามข้อมูลของ Bukin หลายปีก่อนหน้าข้อตกลงกรอบการทำงานได้รับการลงนามกับหน่วยงานที่ได้รับมอบอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมไทยสำหรับการจัดตั้งสายการผลิตยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3E1 8x8 APC(Armoured Personnel Carrier)
รวมถึงยานเกราะล้อยางตระกูล BTR-3 รุ่นต่างๆที่มีพื้นฐานจากยานเกราะล้อยาง BTR-3E1 เช่นเดียวกับการมอบการให้บริการภายในประเทศไทย(https://aagth1.blogspot.com/2018/06/blog-post_18.html)
"ยานเกราะที่บังคับการ BTR-3KSH ที่มีพื้นฐานจากยานเกราะล้อยาง BTR-3 เป็นโครงการร่วมของโรงงานยานเกราะ Kiev(Kiev Armoured Vehicle Plant, KBTZ) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Ukroboronprom กับรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชนอื่นๆของยูเครน
BTR-3KSH ได้ถูกพัฒนาภายใต้การสั่งจัดหาจากกองทัพบกไทย(RTA: Royal Thai Army) ในความร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ สทป.(DTI: Defence Technology Institute) กระทรวงกลาโหมไทย" ผู้อำนวยการทั่วไป Ukroboronprom ยูเครน ให้ข้อมูล
ตามความเห็นของ Bukin ในสถานะปัจจุบันการขยายการส่งออกอาวุธยุทโธปกรณ์เป็นเพียงโอกาสหนึ่งในการส่งมอบการพัฒนานวัตกรรมของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆภายใน Ukroboronprom ยูเครน
"ความร่วมมือกับไทยทำให้ยูเครนสามารถจะขยายสายการผลิตของยานเกราะ BTR-3 และเปิดสายการผลิตจำนวนมากของรถรบชั้นนำระดับโลกแบบใหม่ทั้งหมดได้" เขากล่าว
BTR-3KSH เป็นรถรุ่นใหม่ในตระกูลยานเกราะล้อยาง BTR-3 ที่ติดตั้งระบบบัญชาการและควบคุมการรบอัตโนมัติที่ผสมผสนามการส่งข้อมูลด้วยการสื่อสาร Digital ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้งหน่วยถึงระดับกองพล, เป้าหมาย และความเสียหายจากการยิง
ระบบบริหารจัดการสนามรบ(BMS: Battle Management System) จะแสดงผลภาพที่สอดคล้องกันของ Computer ทางยุทธวิธี และให้ผู้ใช้งานจะส่งภารกิจการรบและควบคุมการปฏิบัติการแก่หน่วยดำเนินกลยุทธได้อย่างรวดเร็ว
BTR-3KSH ติดตั้งระบบอากาศยานไร้คนขับ(UAV: Unmanned Aerial Vehicle) กับตัวรถซึ่งทำให้สามารถรับข้อมูลคัดกรองได้อย่างอิสระ ปัจจุบัน UAV แบบ "Rama" จากสำนักออกแบบอากาศยานทั่วไปแห่งยูเครน(General Aviation Design Bureau of Ukraine) ได้ถูกใช้เป็นส่วนหนึ่งของรถ
และมีความเป็นได้ที่จะบูรณาการระบบไร้คนขับแบบใดๆและป้อมปืนขนาดเบาเข้ากับยานเกราะที่บังคับการนี้ คุณสมบัติของ BTR-3KSH ตัวรถสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 100km/h บนถนน และมีขีดความสามารถในการเคลื่อนที่ลอยตัวในน้ำ
โรงงานยานเกราะ Kiev ได้พร้อมเริ่มต้นชุดการทดสอบยานเกราะที่บังคับการ BTR-3KSH โดยร่วมกับกองทัพยูเครนตามคำสั่งเพื่อเริ่มต้นเปิดสายการผลิตจำนวยมากสำหรับการเข้าประจำการในกองทัพบกยูเครน(Ukrainian Army)
ในปี 2017 โรงงานยานเกราะ Kiev ได้รับสัญญาสร้างยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3DA รุ่นปรับปรุงใหม่จำนวน 20คันสำหรับกองกำลังความมั่นคงยูเครน แต่ขณะนี้ยังไม่มีการส่งมอบเนื่องจากกระทรวงกลาโหมยูเครนปฏิเสธที่จะเห็นชอบกับต้นทุนค่าวัสดุที่ทำให้ค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น
สัญญาที่เกี่ยวข้องของรัฐบาลยูเครนได้มีการสรุปราคาในเดือนเมษายน 2017 ระหว่างปี 2018 ราคาสิ่งอุปกรร์ประกอบ, พลังงานและอื่นๆได้ขยายเพิ่มสูงขึ้นอย่างมากซึ่งส่งผลต่อราคาค่าใช้จ่ายของยานเกราะล้อยางลำเลียงพล BTR-3DA อย่างมีนัยสำคัญ
นอกจากนี้กระทรวงกลาโหมยูเครนยังไม่ได้แก้ไขปัญหาการอนุญาตให้เปิดสายผลิตยานเกราะจากต่างประเทศ ในการดำเนินการต่อคำถามที่ขัดแย้งกันจากจากกระทรวงกลาโหมยูเครน โรงงานยานเกราะ Kiev ได้ทำการยื่นเรื่องอุทธรณ์ต่อศาลยูเครน
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ DTI ร่วมกับ บริษัท Datagate co.,Ltd. ไทย และบริษัท Thales ยุโรป ได้ลงนามบันทึกข้อตกลง(MoA: Memorandum of Agreement) ในการปรับปรุงยานเกราะลำเลียงพลของกองทัพบกไทยโดยการถ่ายทอดองค์ความรู้และ Technology แก่ DTI ไทย
ด้วยการบูรณาการระบบ C5I(Computerised, Command, Control, Communications and Combat Information: คอมพิวเตอร์, บัญาการ, ควบคุม, สื่อสาร และข้อมูลการรบ) สำหรับการบัญชาการและควบคุมทางยุทธวิธีครับ(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/dti-thales-digital-indra-lanza-3d-radar.html)
วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
ประธานาธิบดีบัลแกเรียใช้อำนาจยับยั้งการจัดซื้อเครื่องบินขับไล่ F-16V สหรัฐฯ
Bulgarian president vetoes F-16V purchase
Bulgaria's president has vetoed the country's planned $1.26 billion acquisition of eight Lockheed Martin F-16V fighters, citing a lack of agreement and clarity over the deal.
https://www.flightglobal.com/news/articles/bulgarian-president-vetoes-f-16v-purchase-459848/
ประธานาธิบดีบัลแกเรียได้ใช้อำนาจการยับยั้งแผนการจัดหาเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-16V Block 70 Fighting Falcon สหรัฐฯ จำนวน 8เครื่องวงเงิน $1.26 billion
ของกองทัพอากาศบัลแกเรีย(Bulgarian Air Force) เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่รัสเซียเก่ายุคกลุ่มกติกา Warsaw Pact โดยอ้างการขาดความเห็นชอบและความชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการข้อตกลง
การออกคำสั่งการยับยั้งในวันที่ 23 กรกฎาคม 2019 ประธานาธิบดีบัลแกเรีย Rumen Radev กล่าวว่าการจัดซื้อโครงการระดับนี้ไม่เพียงจำเป็นที่จะต้องมีราคาที่เหมาะสมเท่านั้น แต่ยัง "จะต้องมีฉันทามติที่เป็นเอกฉันท์และการสนับสนุนในวงกว้างด้วย"
ประธานาธิบดีบัลแกเรีย Radev กล่าว "การโต้แย้งที่รุนแรง" ที่เห็นได้ชัดระหว่างกระบวนการอนุมัติของรัฐสภาบัลแกเรียเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แสดงให้เห็นว่า "ไม่มีการแสวงหาหรือเข้าถึงฉันทามติสาธารณะ"
"ข้อผูกมัดของบัลแกเรียต่อพันธกรณีสำหรับหลายปีที่จะถึงข้างหน้า ปราศจากฉันทามติและความเชื่อมั่นระดับชาติในเงื่อนไขที่ยอมรับกันทั้งสองฝ่ายของข้อตกลงสัญญาเป็นที่น่ากังวลอย่างยิ่งที่สุด"
การยืนยันสัตยาบันของการจัดหาควรจะเป็นประเด็นหัวข้อของการลงมติต่อสองสภาของรัฐสภาบัลแกเรีย แต่กลับถูกแทนที่เพื่อทำให้เสร็จผ่านขั้นตอน "การเร่งรัดอย่างรวดเร็ว" ประธานาธิบดีบัลแกเรียกล่าว
"กระบวนการทางกฎหมายที่สั้นลง" นั้นหมายความว่าหลายประเด็นที่อาจจะเป็นปัญหาอย่างเช่น "ราคา, การรับประกัน, เวลาการส่งมอบ และค่าปรับ" ยังไม่มีความชัดเจน
มันไม่ได้มีการอนุญาตให้ใช้กระบวนการ 'ที่เป็นข้อยกเว้นพิเศษ' ในการแก้ไขปัญหาเช่นประเด็นปัญหาทางยุทธศาสตร์สำหรับบัลแกเรียเพื่อเป็นการรับประกันความมั่นคงของชาติ
"บัลแกเรียจำเป็นต้องมีเครื่องบินขับไล่พหุภารกิจซึ่งไม่เพียงเฉพาะแต่การบรรลุคุณสมบัติของมันเท่านั้น แต่ยังโดยชุดการจัดหาที่เต็มรูปแบบของอุปกรณ์, การสนับสนุน และการฝึกกำลังพล
คำตอบที่ชัดเจนต่อสาธารณชนเป็นสิ่งที่จำเป็นว่าสิ่งต่างๆเหล่านี้่นจะสามารถบรรลุผลได้โดยสัญญาหรือไม่" ประธานาธิบดีบัลแกเรีย Radev กล่าว
ประธานาธิบดี Radev ได้ยื่นเรื่องการส่งขั้นตอนทางกฎหมายใหม่สำหรับการพิจารณาของรัฐสภาบัลแกเรียอีกครั้งในวันที่ 26 กรกฎาคม 2019 ซึ่งอำนาจการใช้สิทธิยับยั้งของประธานาธิบดีสามารถที่จะตีกลับผลการลงมติของสมาชิกสภาอย่างน้อย 121รายจากจำนวนที่นั่งในรัฐสภา 240ราย
การจัดหาเครื่องบินขับไล่ F-16 Block 70 นี้เป็นการจัดหาครั้งใหญ่ทางทหารที่สุดของบัลแกเรียหลังการล่มสลายของยุคคอมมิวนิสต์ เพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินขับไล่ MiG-29 รัสเซียของกองทัพอากาศบัลแกเรีย(https://aagth1.blogspot.com/2018/12/f-16v-mig-29.html)
บริษัท Lockheed Martin สหรัฐกำลังเดินหน้าความเป็นไปได้ในการขายเครื่องบินขับไล่ F-16 Fighting Falcon ที่สร้างใหม่จากโรงงานอากาศยานของตนใน Greenville มลรัฐฯ South Carolina
โดยเครื่องบินขับไล่ F-16V Block 70/72 Viper สหรัฐฯได้ถูกรับการเลือกหรือกำลังอยู่ในการแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ในกลุ่มประเทศสมาชิก NATO ในยุโรปตะวันออกครับ(https://aagth1.blogspot.com/2019/06/lockheed-martin-f-16v.html)
Bulgaria's president has vetoed the country's planned $1.26 billion acquisition of eight Lockheed Martin F-16V fighters, citing a lack of agreement and clarity over the deal.
https://www.flightglobal.com/news/articles/bulgarian-president-vetoes-f-16v-purchase-459848/
ประธานาธิบดีบัลแกเรียได้ใช้อำนาจการยับยั้งแผนการจัดหาเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-16V Block 70 Fighting Falcon สหรัฐฯ จำนวน 8เครื่องวงเงิน $1.26 billion
ของกองทัพอากาศบัลแกเรีย(Bulgarian Air Force) เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่รัสเซียเก่ายุคกลุ่มกติกา Warsaw Pact โดยอ้างการขาดความเห็นชอบและความชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการข้อตกลง
การออกคำสั่งการยับยั้งในวันที่ 23 กรกฎาคม 2019 ประธานาธิบดีบัลแกเรีย Rumen Radev กล่าวว่าการจัดซื้อโครงการระดับนี้ไม่เพียงจำเป็นที่จะต้องมีราคาที่เหมาะสมเท่านั้น แต่ยัง "จะต้องมีฉันทามติที่เป็นเอกฉันท์และการสนับสนุนในวงกว้างด้วย"
ประธานาธิบดีบัลแกเรีย Radev กล่าว "การโต้แย้งที่รุนแรง" ที่เห็นได้ชัดระหว่างกระบวนการอนุมัติของรัฐสภาบัลแกเรียเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แสดงให้เห็นว่า "ไม่มีการแสวงหาหรือเข้าถึงฉันทามติสาธารณะ"
"ข้อผูกมัดของบัลแกเรียต่อพันธกรณีสำหรับหลายปีที่จะถึงข้างหน้า ปราศจากฉันทามติและความเชื่อมั่นระดับชาติในเงื่อนไขที่ยอมรับกันทั้งสองฝ่ายของข้อตกลงสัญญาเป็นที่น่ากังวลอย่างยิ่งที่สุด"
การยืนยันสัตยาบันของการจัดหาควรจะเป็นประเด็นหัวข้อของการลงมติต่อสองสภาของรัฐสภาบัลแกเรีย แต่กลับถูกแทนที่เพื่อทำให้เสร็จผ่านขั้นตอน "การเร่งรัดอย่างรวดเร็ว" ประธานาธิบดีบัลแกเรียกล่าว
"กระบวนการทางกฎหมายที่สั้นลง" นั้นหมายความว่าหลายประเด็นที่อาจจะเป็นปัญหาอย่างเช่น "ราคา, การรับประกัน, เวลาการส่งมอบ และค่าปรับ" ยังไม่มีความชัดเจน
มันไม่ได้มีการอนุญาตให้ใช้กระบวนการ 'ที่เป็นข้อยกเว้นพิเศษ' ในการแก้ไขปัญหาเช่นประเด็นปัญหาทางยุทธศาสตร์สำหรับบัลแกเรียเพื่อเป็นการรับประกันความมั่นคงของชาติ
"บัลแกเรียจำเป็นต้องมีเครื่องบินขับไล่พหุภารกิจซึ่งไม่เพียงเฉพาะแต่การบรรลุคุณสมบัติของมันเท่านั้น แต่ยังโดยชุดการจัดหาที่เต็มรูปแบบของอุปกรณ์, การสนับสนุน และการฝึกกำลังพล
คำตอบที่ชัดเจนต่อสาธารณชนเป็นสิ่งที่จำเป็นว่าสิ่งต่างๆเหล่านี้่นจะสามารถบรรลุผลได้โดยสัญญาหรือไม่" ประธานาธิบดีบัลแกเรีย Radev กล่าว
ประธานาธิบดี Radev ได้ยื่นเรื่องการส่งขั้นตอนทางกฎหมายใหม่สำหรับการพิจารณาของรัฐสภาบัลแกเรียอีกครั้งในวันที่ 26 กรกฎาคม 2019 ซึ่งอำนาจการใช้สิทธิยับยั้งของประธานาธิบดีสามารถที่จะตีกลับผลการลงมติของสมาชิกสภาอย่างน้อย 121รายจากจำนวนที่นั่งในรัฐสภา 240ราย
การจัดหาเครื่องบินขับไล่ F-16 Block 70 นี้เป็นการจัดหาครั้งใหญ่ทางทหารที่สุดของบัลแกเรียหลังการล่มสลายของยุคคอมมิวนิสต์ เพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินขับไล่ MiG-29 รัสเซียของกองทัพอากาศบัลแกเรีย(https://aagth1.blogspot.com/2018/12/f-16v-mig-29.html)
บริษัท Lockheed Martin สหรัฐกำลังเดินหน้าความเป็นไปได้ในการขายเครื่องบินขับไล่ F-16 Fighting Falcon ที่สร้างใหม่จากโรงงานอากาศยานของตนใน Greenville มลรัฐฯ South Carolina
โดยเครื่องบินขับไล่ F-16V Block 70/72 Viper สหรัฐฯได้ถูกรับการเลือกหรือกำลังอยู่ในการแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ในกลุ่มประเทศสมาชิก NATO ในยุโรปตะวันออกครับ(https://aagth1.blogspot.com/2019/06/lockheed-martin-f-16v.html)
วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
KAI เกาหลีใต้ยังไม่ได้รับการยืนยันการเลือกเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 ของอาร์เจนตินา
KAI yet to receive confirmation of Argentine FA-50 win
Korea Aerospace Industries (KAI) has yet to receive word that its FA-50 has been selected in an Argentinian requirement for light fighters.
https://www.flightglobal.com/news/articles/kai-yet-to-receive-confirmation-of-argentine-fa-50-459862/
บริษัท Korean Aerospace Industries(KAI) สาธารณรัฐเกาหลียังไม่ได้การยืนยันการให้คำมั่นที่เครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 Fighting Eagle ของตนได้รับเลือกในความต้องการเครื่องบินขับไล่เบาคั่นระยะของกองทัพอากาศอาร์เจนตินา(Argentine Air Force, FAA: Fuerza Aérea Argentina)
บุคคลที่มีความคุ้นเคยกับโครงการจัดหากล่าวว่ายังไม่มีการได้รับการยืนยันและข้อตกลงการจัดหาในขณะนี้ ถ้าสัญญาการจัดหาถูกสรุปผลเสร็จสิ้นจะครอบคลุมการจัดหาเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา KAI FA-50 จำนวน 8เครื่อง
รายงานจากสื่อล่าสุดตั้งข้อสังเกตว่าเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 ได้ถูกรับเลือกโดยกองทัพอากาศอาร์เจนตินา แต่จำนวนที่จะจัดหาตามความต้องการคือ 10เครื่อง(https://aagth1.blogspot.com/2019/07/fa-50.html)
เป็นที่เข้าใจอีกว่าเครื่องบินขับไล่ฝึกไอพ่น Leonardo M-346FA อิตาลีจะยังต่อสู้ในการแข่งขันสำหรับการจัดหาเพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินโจมตี McDonnell Douglas A-4AR Fightinghawk ของกองทัพอากาศอาร์เจนตินาที่มีอายุการใช้งานมานาน
ถ้า FA-50 สาธารณรัฐเกาหลีเป็นผู้ชนะการคัดเลือกของอาร์เจนตินา นี่จะเป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงการขายครั้งแรกของเครื่องบินไอพ่นความเร็วเหนือเสียงสองที่นั่งตระกูล T-50 Golden Eagle ในซีกโลกตะวันตก
ตามที่ก่อนหน้านี้เครื่องบินฝึกไอพ่น Lockheed Martin/KAI T-50A ซึ่งมีพื้นฐานจาก FA-50 ได้แพ้ต่อทีม Boeing-Saab ในโครงการจัดหาเครื่องบินฝึกไอพ่นใหม่ T-X กองทัพอากาศสหรัฐฯ(USAF: US Air Force) เพื่อทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่น Northrop T-38 Talon(https://aagth1.blogspot.com/2019/07/boeing-t-x.html)
KAI สาธารณเกาหลีได้ประสบความสำเร็จอย่างมากในการส่งออกเครื่องบินไอพ่นตระกูล T-50 โดยลูกส่งออกต่างประเทศรวมถึง อินโดนีเซีย, อิรัก, ฟิลิปปินส์ และกองทัพอากาศไทย(RTAF: Royal Thai Air Force)(https://aagth1.blogspot.com/2019/05/kai-t-50th.html)
กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) มี T-50 รุ่นต่างๆประจำการ 145เครื่อง รวมทั่วโลกราว 200เครื่อง แบ่งเป็นเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า T-50 122เครื่อง, เครื่องบินโจมตีเบา TA-50/FA-50 72เครื่อง และเครื่องสำหรับงานทดลองและวิจัย 6เครื่อง
เครื่องบินไอพ่นตระกูล T-50 ทุกรุ่นได้รับการติดตั้งเครื่องยนต์ไอพ่น Turbofan แบบ General Electric F404 สหรัฐฯ ซึ่งได้รับสิทธิบัตรการผลิตภายในประเทศโดยบริษัท Hanwha Techwin(เดิม Samsung Techwin) สาธารณรัฐเกาหลี
Website ของบริษัท KAI เกาหลีใต้ระบุว่า เครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 สามารถติดตั้งอาวุธนำวิถีความแม่นยำสูงได้หลายแบบ รวมถึงระเบิดนำวิถีดาวเทียมร่อน Korea GPS Guided Bomb (KGGB) ที่พัฒนาในประเทศ
ข้อมูลจาก Fleets Analyzer ระบุว่ากองทัพอากาศอาร์เจนตินามีเครื่องบินโจมตี A-4AR ประจำการ 24เครื่องในฐานะเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดินและขับไล่เบา และรุ่นฝึกสองที่นั่ง OA-4AR จำนวน 3เครื่อง
A-4AR เป็นโครงการปรับปรุงความทันสมัยที่ดำเนินการโดยบริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯกับเครื่องบินโจมตี Douglas A-4M Skyhawk ที่เคยประจำการในนาวิกโยธินสหรัฐฯ(USMC: US Marine Corps) ที่อาร์เจนตินาจัดหามาใช้
เครื่องบินโจมตี A-4AR Fightinghawk ได้รับการติดตั้งห้องนักบินแบบใหม่, ระบบควบคุมการบินใหม่, ระบบนำร่องใหม่ และระบบอาวุธใหม่
และ Radar แบบ ARG-1 ซึ่งเป็นรุ่นลดขนาดและสมรรถนะที่มีพื้นฐานจาก Radar แบบ Northrop Grumman APG-66(V)2 ที่ติดตั้งกับเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-16 Fighting Falcon Block 15 Mid Life Update(MLU) รุ่นแรกครับ
Korea Aerospace Industries (KAI) has yet to receive word that its FA-50 has been selected in an Argentinian requirement for light fighters.
https://www.flightglobal.com/news/articles/kai-yet-to-receive-confirmation-of-argentine-fa-50-459862/
บริษัท Korean Aerospace Industries(KAI) สาธารณรัฐเกาหลียังไม่ได้การยืนยันการให้คำมั่นที่เครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 Fighting Eagle ของตนได้รับเลือกในความต้องการเครื่องบินขับไล่เบาคั่นระยะของกองทัพอากาศอาร์เจนตินา(Argentine Air Force, FAA: Fuerza Aérea Argentina)
บุคคลที่มีความคุ้นเคยกับโครงการจัดหากล่าวว่ายังไม่มีการได้รับการยืนยันและข้อตกลงการจัดหาในขณะนี้ ถ้าสัญญาการจัดหาถูกสรุปผลเสร็จสิ้นจะครอบคลุมการจัดหาเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา KAI FA-50 จำนวน 8เครื่อง
รายงานจากสื่อล่าสุดตั้งข้อสังเกตว่าเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 ได้ถูกรับเลือกโดยกองทัพอากาศอาร์เจนตินา แต่จำนวนที่จะจัดหาตามความต้องการคือ 10เครื่อง(https://aagth1.blogspot.com/2019/07/fa-50.html)
เป็นที่เข้าใจอีกว่าเครื่องบินขับไล่ฝึกไอพ่น Leonardo M-346FA อิตาลีจะยังต่อสู้ในการแข่งขันสำหรับการจัดหาเพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินโจมตี McDonnell Douglas A-4AR Fightinghawk ของกองทัพอากาศอาร์เจนตินาที่มีอายุการใช้งานมานาน
ถ้า FA-50 สาธารณรัฐเกาหลีเป็นผู้ชนะการคัดเลือกของอาร์เจนตินา นี่จะเป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงการขายครั้งแรกของเครื่องบินไอพ่นความเร็วเหนือเสียงสองที่นั่งตระกูล T-50 Golden Eagle ในซีกโลกตะวันตก
ตามที่ก่อนหน้านี้เครื่องบินฝึกไอพ่น Lockheed Martin/KAI T-50A ซึ่งมีพื้นฐานจาก FA-50 ได้แพ้ต่อทีม Boeing-Saab ในโครงการจัดหาเครื่องบินฝึกไอพ่นใหม่ T-X กองทัพอากาศสหรัฐฯ(USAF: US Air Force) เพื่อทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่น Northrop T-38 Talon(https://aagth1.blogspot.com/2019/07/boeing-t-x.html)
KAI สาธารณเกาหลีได้ประสบความสำเร็จอย่างมากในการส่งออกเครื่องบินไอพ่นตระกูล T-50 โดยลูกส่งออกต่างประเทศรวมถึง อินโดนีเซีย, อิรัก, ฟิลิปปินส์ และกองทัพอากาศไทย(RTAF: Royal Thai Air Force)(https://aagth1.blogspot.com/2019/05/kai-t-50th.html)
กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) มี T-50 รุ่นต่างๆประจำการ 145เครื่อง รวมทั่วโลกราว 200เครื่อง แบ่งเป็นเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า T-50 122เครื่อง, เครื่องบินโจมตีเบา TA-50/FA-50 72เครื่อง และเครื่องสำหรับงานทดลองและวิจัย 6เครื่อง
เครื่องบินไอพ่นตระกูล T-50 ทุกรุ่นได้รับการติดตั้งเครื่องยนต์ไอพ่น Turbofan แบบ General Electric F404 สหรัฐฯ ซึ่งได้รับสิทธิบัตรการผลิตภายในประเทศโดยบริษัท Hanwha Techwin(เดิม Samsung Techwin) สาธารณรัฐเกาหลี
Website ของบริษัท KAI เกาหลีใต้ระบุว่า เครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 สามารถติดตั้งอาวุธนำวิถีความแม่นยำสูงได้หลายแบบ รวมถึงระเบิดนำวิถีดาวเทียมร่อน Korea GPS Guided Bomb (KGGB) ที่พัฒนาในประเทศ
ข้อมูลจาก Fleets Analyzer ระบุว่ากองทัพอากาศอาร์เจนตินามีเครื่องบินโจมตี A-4AR ประจำการ 24เครื่องในฐานะเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดินและขับไล่เบา และรุ่นฝึกสองที่นั่ง OA-4AR จำนวน 3เครื่อง
A-4AR เป็นโครงการปรับปรุงความทันสมัยที่ดำเนินการโดยบริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯกับเครื่องบินโจมตี Douglas A-4M Skyhawk ที่เคยประจำการในนาวิกโยธินสหรัฐฯ(USMC: US Marine Corps) ที่อาร์เจนตินาจัดหามาใช้
เครื่องบินโจมตี A-4AR Fightinghawk ได้รับการติดตั้งห้องนักบินแบบใหม่, ระบบควบคุมการบินใหม่, ระบบนำร่องใหม่ และระบบอาวุธใหม่
และ Radar แบบ ARG-1 ซึ่งเป็นรุ่นลดขนาดและสมรรถนะที่มีพื้นฐานจาก Radar แบบ Northrop Grumman APG-66(V)2 ที่ติดตั้งกับเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-16 Fighting Falcon Block 15 Mid Life Update(MLU) รุ่นแรกครับ
วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
อินโดนีเซียยังมองที่จะลดค่าใช้จ่ายโครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X/IF-X กับเกาหลีใต้
Jakarta still seeking concessions on K-FX/I-FX costs
Jakarta continues to press for concessions on the price of involvement in the Korea Aerospace Industries (KAI) K-FX/I-FX fighter programme.
https://www.flightglobal.com/news/articles/jakarta-still-seeking-concessions-on-k-fxi-fx-cost-459837/
อินโดนีเซียเดินหน้าที่จะมองหาลดค่าสิทธิประโยชน์ของการมีส่วนร่วมการลงทุนในโครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ Korean Fighter Xperiment/Indonesia Fighter Xperiment (KF-X/IF-X) ร่วมกับบริษัท Korea Aerospace Industries(KAI) สาธารณรัฐเกาหลี
รายงานล่าสุดโดยสำนักข่าว Antara อินโดนีเซียอ้างคำพูดของรัฐมนตรีประจำกระทรวงอินโดนีเซีย Wiranto ตามการตั้งข้อสังเกตว่าการจ่ายครั้งหน้าจะไม่เป็นเงินสด แต่เป็นไปได้ที่จะเป็นข้อตกลงการค้าต่างตอบแทนที่เกี่ยวข้องกับยุทโธปกรณ์ทางทหารที่อินโดนีเซียผลิตในประเทศ
ในปี 2018 รัฐมนตรีกระทรวงประสานงานด้านการเมือง, กฎหมาย และความมั่นคง Winrato วางแผนการเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ของอินโดนีเซียที่จะเจรจาการมีส่วนร่วมในโครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X/IF-X ใหม่(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/kf-xif-x.html)
ในต้นปี 2019 บริษัท KAI สาธารณรัฐเกาหลียืนยันว่าตนได้รับวงเงิน 130 billion Korean Won($117 million) จากกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย จึงเห็นได้ว่าเป็นการนำสิ่งต่างๆกลับสู่เส้นทาง(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/kf-x.html)
อย่างไรก็ตามรายงานในสื่อเกาหลีใต้เมื่อ 22 กรกฎาคม 2019 ตั้งข้อสังเกตว่าตอนนี้อินโดนีเซียได้ลงทุนในโครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X/IF-X แล้ว 300 billion Korean Won(https://aagth1.blogspot.com/2018/10/kf-xif-x.html)
มีการอ้างข้อมูลทางการจากสำนักงานโครงการจัดหากลาโหม(DAPA: Defense Acquisition Program Administration) สาธารณรัฐเกาหลีว่ารัฐบาลอินโดนีเซียได้จ่ายวงเงินลงทุนในโครงการ KF-X/IF-X แล้วเพียง 220 billion Korean Won
ภายใต้กรอบข้อตกลงเดิมของโครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X/IF-X อินโดนีเซียจะลงทุนเป็นวงเงิน 1.6 trillion Korean Won($1.9 billion) ของโครงการที่มีราคาต่อเครื่องที่ 8.5 billion Korean Won
สื่อเกาหลีใต้รายงานเสริมว่าการทบทวนการออกแบบสำคัญของโครงการจะมีขึ้นในเดือนกันยายน 2019 โดยทั้งอินโดนีเซียและสาธารณรัฐเกาหลีจะทบทวนการผลิตเครื่องบินต้นแบบที่ยังค้างอยู่
ในปี 2018 แหล่งข่าวเกาหลีใต้กล่าวถึงมุมมองที่แพร่หลายภายในเกาหลีใต้ว่า อินโดนีเซียได้ยืนยันที่จะมีการใช้โครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X เพื่อบีบคั้นสิทธิประโยชน์ของตนกับเกาหลีใต้
เช่น การให้เกาหลีใต้จัดหาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด Airbus Defence & Space CN235 เพิ่มเติม ที่ผลิตภายใต้สิทธิบัตรโดย Indonesian Aerospace(PTDI: PT Dirgantara Indonesia) รัฐวิสาหกิจอุตสาหกรรมอากาศยานใน Bandung อินโดนีเซีย
Fleets Analyzer แสดงข้อมูลว่าสาธารณรัฐเกาหลีเป็นลูกค้าหลักรายหนึ่งสำหรับเครื่องบินลำเลียง CN235 โดยกองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) มีเครื่องบินลำเลียง CN235 ประจำการ 8เครื่อง โดยมีแผนจะจัดหาเพิ่ม 6เครื่อง
ขณะที่หน่วยยามฝั่งเกาหลีใต้(Korea Coast Guard) มีเครื่องบินลำเลียง CN235 ประจำการ 4เครื่อง โดยมีแผนจะจัดหาเพิ่ม 2เครื่อง
เครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ไอพ่น KF-X ถูกกำหนดจุดหมายปลายทางที่จะเป็นโครงการจัดหาทางกลาโหมที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐเกาหลี โดยเครื่องบินขับไล่ KF-X จำนวน 120เครื่องจะถูกส่งมอบให้กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี
และเครื่องบินขับไล่ IF-X ที่มีพื้นฐานจาก KF-X จำนวน 80เครื่องจะถูกส่งมอบให้กองทัพอากาศอินโดนีเซีย(Indonesian Air Force, TNI-AU: Tentara Nasional Indonesia-Angkatan Udara)
KF-X Block I ได้ถูกระบุว่าเป็นเครื่องบินขับไล่ยุคที่ 4.5 โดยมีขีดความสามารถบางส่วนที่ตกอยู่ระหว่างเครื่องบินขับไล่ยุคที่4 Lockheed Martin F-16 Fighting Falcon และเครื่องบินขับไล่ยุคที่5 Lockheed Martin F-35 Lightning II Joint Strike Fighter(JSF) สหรัฐฯ
การทำการบินครั้งแรกของเครื่องบินขับไล่ KF-X เครื่องต้นแบบกำหนดแผนที่จะมีขึ้นในกลางปี 2022 โดยการทดสอบและการประเมินค่าจะดำเนินการไปจนถึงปี 2026 ครับ
Jakarta continues to press for concessions on the price of involvement in the Korea Aerospace Industries (KAI) K-FX/I-FX fighter programme.
https://www.flightglobal.com/news/articles/jakarta-still-seeking-concessions-on-k-fxi-fx-cost-459837/
อินโดนีเซียเดินหน้าที่จะมองหาลดค่าสิทธิประโยชน์ของการมีส่วนร่วมการลงทุนในโครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ Korean Fighter Xperiment/Indonesia Fighter Xperiment (KF-X/IF-X) ร่วมกับบริษัท Korea Aerospace Industries(KAI) สาธารณรัฐเกาหลี
รายงานล่าสุดโดยสำนักข่าว Antara อินโดนีเซียอ้างคำพูดของรัฐมนตรีประจำกระทรวงอินโดนีเซีย Wiranto ตามการตั้งข้อสังเกตว่าการจ่ายครั้งหน้าจะไม่เป็นเงินสด แต่เป็นไปได้ที่จะเป็นข้อตกลงการค้าต่างตอบแทนที่เกี่ยวข้องกับยุทโธปกรณ์ทางทหารที่อินโดนีเซียผลิตในประเทศ
ในปี 2018 รัฐมนตรีกระทรวงประสานงานด้านการเมือง, กฎหมาย และความมั่นคง Winrato วางแผนการเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ของอินโดนีเซียที่จะเจรจาการมีส่วนร่วมในโครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X/IF-X ใหม่(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/kf-xif-x.html)
ในต้นปี 2019 บริษัท KAI สาธารณรัฐเกาหลียืนยันว่าตนได้รับวงเงิน 130 billion Korean Won($117 million) จากกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย จึงเห็นได้ว่าเป็นการนำสิ่งต่างๆกลับสู่เส้นทาง(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/kf-x.html)
อย่างไรก็ตามรายงานในสื่อเกาหลีใต้เมื่อ 22 กรกฎาคม 2019 ตั้งข้อสังเกตว่าตอนนี้อินโดนีเซียได้ลงทุนในโครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X/IF-X แล้ว 300 billion Korean Won(https://aagth1.blogspot.com/2018/10/kf-xif-x.html)
มีการอ้างข้อมูลทางการจากสำนักงานโครงการจัดหากลาโหม(DAPA: Defense Acquisition Program Administration) สาธารณรัฐเกาหลีว่ารัฐบาลอินโดนีเซียได้จ่ายวงเงินลงทุนในโครงการ KF-X/IF-X แล้วเพียง 220 billion Korean Won
ภายใต้กรอบข้อตกลงเดิมของโครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X/IF-X อินโดนีเซียจะลงทุนเป็นวงเงิน 1.6 trillion Korean Won($1.9 billion) ของโครงการที่มีราคาต่อเครื่องที่ 8.5 billion Korean Won
สื่อเกาหลีใต้รายงานเสริมว่าการทบทวนการออกแบบสำคัญของโครงการจะมีขึ้นในเดือนกันยายน 2019 โดยทั้งอินโดนีเซียและสาธารณรัฐเกาหลีจะทบทวนการผลิตเครื่องบินต้นแบบที่ยังค้างอยู่
ในปี 2018 แหล่งข่าวเกาหลีใต้กล่าวถึงมุมมองที่แพร่หลายภายในเกาหลีใต้ว่า อินโดนีเซียได้ยืนยันที่จะมีการใช้โครงการเครื่องบินขับไล่ KF-X เพื่อบีบคั้นสิทธิประโยชน์ของตนกับเกาหลีใต้
เช่น การให้เกาหลีใต้จัดหาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด Airbus Defence & Space CN235 เพิ่มเติม ที่ผลิตภายใต้สิทธิบัตรโดย Indonesian Aerospace(PTDI: PT Dirgantara Indonesia) รัฐวิสาหกิจอุตสาหกรรมอากาศยานใน Bandung อินโดนีเซีย
Fleets Analyzer แสดงข้อมูลว่าสาธารณรัฐเกาหลีเป็นลูกค้าหลักรายหนึ่งสำหรับเครื่องบินลำเลียง CN235 โดยกองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) มีเครื่องบินลำเลียง CN235 ประจำการ 8เครื่อง โดยมีแผนจะจัดหาเพิ่ม 6เครื่อง
ขณะที่หน่วยยามฝั่งเกาหลีใต้(Korea Coast Guard) มีเครื่องบินลำเลียง CN235 ประจำการ 4เครื่อง โดยมีแผนจะจัดหาเพิ่ม 2เครื่อง
เครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ไอพ่น KF-X ถูกกำหนดจุดหมายปลายทางที่จะเป็นโครงการจัดหาทางกลาโหมที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐเกาหลี โดยเครื่องบินขับไล่ KF-X จำนวน 120เครื่องจะถูกส่งมอบให้กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี
และเครื่องบินขับไล่ IF-X ที่มีพื้นฐานจาก KF-X จำนวน 80เครื่องจะถูกส่งมอบให้กองทัพอากาศอินโดนีเซีย(Indonesian Air Force, TNI-AU: Tentara Nasional Indonesia-Angkatan Udara)
KF-X Block I ได้ถูกระบุว่าเป็นเครื่องบินขับไล่ยุคที่ 4.5 โดยมีขีดความสามารถบางส่วนที่ตกอยู่ระหว่างเครื่องบินขับไล่ยุคที่4 Lockheed Martin F-16 Fighting Falcon และเครื่องบินขับไล่ยุคที่5 Lockheed Martin F-35 Lightning II Joint Strike Fighter(JSF) สหรัฐฯ
การทำการบินครั้งแรกของเครื่องบินขับไล่ KF-X เครื่องต้นแบบกำหนดแผนที่จะมีขึ้นในกลางปี 2022 โดยการทดสอบและการประเมินค่าจะดำเนินการไปจนถึงปี 2026 ครับ
วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
อาร์เจนตินาเลือกเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 เกาหลีใต้
Argentina selects Korean FA-50 fighter
The FAA has chosen the KAI FA-50 Fighting Eagle twin-seat light attack aircraft as its interim fighter. Source: KAI
https://www.janes.com/article/89974/argentina-selects-korean-fa-50-fighter
กองทัพอากาศอาร์เจนตินา(Argentine Air Force, FAA: Fuerza Aérea Argentina) ได้เลือกเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา Korean Aerospace Industries(KAI) FA-50 Fighting Eagle สาธารณรัฐเกาหลีเพื่อเป็นเครื่องบินขับไล่คั่นระยะใหม่
เจ้าหน้าที่อาวุโสกองทัพอากาศอาร์เจนตินาด้วยความรู้โดยตรงของแผนการจัดหากล่าวว่า เครื่องบินขับไล่โจมตีเบาสองที่นั่งความเร็วเหนือเสียง FA-50 นี้ได้รับเลือกตามการประเมินค่าตามที่ Jane's ได้เคยรายงานไปเมื่อเดือนกันยายน 2016
เจ้าหน้าที่กองทัพอากาศอาร์เจนตินาผู้ซึ่งร้องขอไม่ให้ระบุตัวตนตามที่ข้อตกลงยังไม่เสร็จสิ้นกล่าวว่า เขาคาดว่ารัฐบาลอาร์เจนตินาจะลงนามการจัดหาตามที่วางแผน "ในอนาคตอันใกล้" โดยการส่งมอบจะดำเนินการตามมาภายหลังในเวลาอันสั้น
อาร์เจนตินาจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีในสิ้นเดือนตุลาคม 2019 และเจ้าหน้าที่กองทัพอากาศอาร์เจนตินาย้ำว่าสิ่งนี้อาจจะทำให้ระยะเวลาที่กำหนดยืดออกไปเล็กน้อย แต่เขายังคาดว่าข้อตกลงจะดำเนินต่อไป
ขณะที่ Jane's ไม่ได้รับการบอกจำนวนเครื่องที่จะจัดหา สื่อประจำชาติอาร์เจนตินาได้รายงานคาดการณ์ว่าข้อตกลงการจัดหาเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 เกาหลีใต้สำหรับกองทัพอากาศอาร์เจนตินาอยู่ที่ 10เครื่อง
คณะตัวแทนอาร์เจนตินาชุดแรกได้เยือนกองบินขับไล่ที่16 กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) ที่ Yecheon เมื่อ 7 กันยายน 2016 เมื่อนักบินกองทัพอาร์กาศอาร์เจนตินาทดสอบเครื่องบินฝึกไอพ่นโจมตีเบา TA-50 Golden Eagle ที่เป็นรุ่นฝึกของ FA-50
กองทัพอากาศอาร์เจนตินามีความต้องการเร่งด่วนด่วนที่จะต้องจัดหาเครื่องบินขับไล่แบบใหม่เพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินขับไล่ Dassault Mirage III และ Mirage 5 ฝรั่งเศสที่ได้ปลดประจำการในปลายปี 2015
และฝูงเครื่องบินโจมตี Douglas A-4R Fightinghawk สหรัฐฯที่มีอายุการใช้งานมานานที่ปรากฎว่ามีความยุ่งยากและค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น
อากาศยานแบบอื่นที่มีรายงานว่ากองทัพอากาศอาร์เจนตินาเคยพิจารณามีเช่น เครื่องบินขับไล่ Israel Aerospace Industries(IAI) Kfir อิสราเอล, เครื่องบินขับไล่ Dassault Mirage F1 ฝรั่งเศส, เครื่องบินขับไล่ฝึกไอพ่น Alenia M-346FT อิตาลี,
เครื่องบินโจมตีเบาไอพ่น L-159 ALCA สาธารณรัฐเช็ก, เครื่องบินขับไล่ Chengdu Aircraft Industry Corporation(CAC) FC-1/Pakistan Aeronautical Complex(PAC) JF-17 Thunder จีน-ปากีสถาน
เครื่องบินขับไล่ Saab Gripen สวีเดน(https://aagth1.blogspot.com/2014/10/gripen-24.html, https://aagth1.blogspot.com/2014/11/gripen.html), เครื่องขับไล่ Eurofighter Typhoon รุ่นแรก
และเครื่องบินขับไล่โจมตี Sukhoi Su-24 รัสเซีย(NATO กำหนดรหัส Fencer) แม้ว่าจะเป็นที่เชื่ออย่างกว้างขวางว่านี่เป็นข่าวปลอมครับ(https://aagth1.blogspot.com/2014/12/su-24.html)
The FAA has chosen the KAI FA-50 Fighting Eagle twin-seat light attack aircraft as its interim fighter. Source: KAI
https://www.janes.com/article/89974/argentina-selects-korean-fa-50-fighter
กองทัพอากาศอาร์เจนตินา(Argentine Air Force, FAA: Fuerza Aérea Argentina) ได้เลือกเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา Korean Aerospace Industries(KAI) FA-50 Fighting Eagle สาธารณรัฐเกาหลีเพื่อเป็นเครื่องบินขับไล่คั่นระยะใหม่
เจ้าหน้าที่อาวุโสกองทัพอากาศอาร์เจนตินาด้วยความรู้โดยตรงของแผนการจัดหากล่าวว่า เครื่องบินขับไล่โจมตีเบาสองที่นั่งความเร็วเหนือเสียง FA-50 นี้ได้รับเลือกตามการประเมินค่าตามที่ Jane's ได้เคยรายงานไปเมื่อเดือนกันยายน 2016
เจ้าหน้าที่กองทัพอากาศอาร์เจนตินาผู้ซึ่งร้องขอไม่ให้ระบุตัวตนตามที่ข้อตกลงยังไม่เสร็จสิ้นกล่าวว่า เขาคาดว่ารัฐบาลอาร์เจนตินาจะลงนามการจัดหาตามที่วางแผน "ในอนาคตอันใกล้" โดยการส่งมอบจะดำเนินการตามมาภายหลังในเวลาอันสั้น
อาร์เจนตินาจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีในสิ้นเดือนตุลาคม 2019 และเจ้าหน้าที่กองทัพอากาศอาร์เจนตินาย้ำว่าสิ่งนี้อาจจะทำให้ระยะเวลาที่กำหนดยืดออกไปเล็กน้อย แต่เขายังคาดว่าข้อตกลงจะดำเนินต่อไป
ขณะที่ Jane's ไม่ได้รับการบอกจำนวนเครื่องที่จะจัดหา สื่อประจำชาติอาร์เจนตินาได้รายงานคาดการณ์ว่าข้อตกลงการจัดหาเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 เกาหลีใต้สำหรับกองทัพอากาศอาร์เจนตินาอยู่ที่ 10เครื่อง
คณะตัวแทนอาร์เจนตินาชุดแรกได้เยือนกองบินขับไล่ที่16 กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) ที่ Yecheon เมื่อ 7 กันยายน 2016 เมื่อนักบินกองทัพอาร์กาศอาร์เจนตินาทดสอบเครื่องบินฝึกไอพ่นโจมตีเบา TA-50 Golden Eagle ที่เป็นรุ่นฝึกของ FA-50
กองทัพอากาศอาร์เจนตินามีความต้องการเร่งด่วนด่วนที่จะต้องจัดหาเครื่องบินขับไล่แบบใหม่เพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินขับไล่ Dassault Mirage III และ Mirage 5 ฝรั่งเศสที่ได้ปลดประจำการในปลายปี 2015
และฝูงเครื่องบินโจมตี Douglas A-4R Fightinghawk สหรัฐฯที่มีอายุการใช้งานมานานที่ปรากฎว่ามีความยุ่งยากและค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น
อากาศยานแบบอื่นที่มีรายงานว่ากองทัพอากาศอาร์เจนตินาเคยพิจารณามีเช่น เครื่องบินขับไล่ Israel Aerospace Industries(IAI) Kfir อิสราเอล, เครื่องบินขับไล่ Dassault Mirage F1 ฝรั่งเศส, เครื่องบินขับไล่ฝึกไอพ่น Alenia M-346FT อิตาลี,
เครื่องบินโจมตีเบาไอพ่น L-159 ALCA สาธารณรัฐเช็ก, เครื่องบินขับไล่ Chengdu Aircraft Industry Corporation(CAC) FC-1/Pakistan Aeronautical Complex(PAC) JF-17 Thunder จีน-ปากีสถาน
เครื่องบินขับไล่ Saab Gripen สวีเดน(https://aagth1.blogspot.com/2014/10/gripen-24.html, https://aagth1.blogspot.com/2014/11/gripen.html), เครื่องขับไล่ Eurofighter Typhoon รุ่นแรก
และเครื่องบินขับไล่โจมตี Sukhoi Su-24 รัสเซีย(NATO กำหนดรหัส Fencer) แม้ว่าจะเป็นที่เชื่ออย่างกว้างขวางว่านี่เป็นข่าวปลอมครับ(https://aagth1.blogspot.com/2014/12/su-24.html)
วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
กองทัพเรือไทยทดลองเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งเรือหลวงประจวบคีรีขันธ์รับส่งเฮลิคอปเตอร์ Super Lynx 300 ในทะเล
Royal Thai Navy's OPV-552 HTMS Prachuap Khiri Khan the second Krabi class Offshore Patrol Vessel was conduct sea trial with Leonardo(AgustaWestland) Super Lynx 300 helicotper Deck Landing Qualification on ship's flight deck in late July 2019.
ทุกคนเคยต้องมีครั้งแรก และครั้งแรกของทุกคนจะเป็นสิ่งที่จดจำไปตลอดชีวิต วันนี้ก็ถึงว่าเป็นครั้งแรกเช่นกัน ที่เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ ได้ทำการรับ/ส่ง เฮลิคอปเตอร์ ครั้งแรก และเป็นโอกาสที่ดีที่ได้โดยสาร ฮ. ทำการถ่ายรูปมุมสูงของเรือ
PS. แชร์ได้เลยนะครับ ผมถ่ายเอง
PS2. เกร็ดความรู้ ชื่อเรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ เป็นชื่อที่ได้รับพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นเรือรบในราชนาวี 1 ใน 2 ลำ ซึ่งอีกลำหนึ่งคือ เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช
PS3. เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ เป็นเรือหลวงลำแรกที่ใช้ชื่อจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นชื่อเรือ และยังมี เรือหลวงหัวหิน ซึ่งเป็นเรือตรวจการณ์ปืน ที่ตั้งเป็นชื่ออำเภอ ในจังหวัด
Photo by Samsung S10 plus
https://www.facebook.com/kawin.prayoonyuang/posts/10162098950390603
ความคืบหน้าโครงการสร้างเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุดเรือหลวงกระบี่ลำที่สอง เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ ณ อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ ล่าสุดในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๒(2019) นั้น
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ได้ออกจากอู่แห้งเพื่อทำการทดสอบทดลองเรือในทะเลหลายชุดรวมถึงการทดสอบการรับ-ส่งเฮลิคอปเตอร์ต่อต้านเรือผิวน้ำ ฮ.ตผ.๑ Leonardo(AgustaWestland) Super Lynx 300 กองการบินทหารเรือ บนดาดฟ้าบินเฮลิคอปเตอร์ท้ายเรือ
ก่อนหน้านี้ในช่วงต้นเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๒ ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ ได้ทำการเลื่อนเรือเข้าในอู่แห้งของอู่มหิดลฯ เพื่อทำ Ship Stability Test และเตรียมการออกทดลองเรือในทะเลเพื่อทดสอบในส่วนตัวเรือและระบบขับเคลื่อน
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์เป็นเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุด ร.ล.กระบี่ ที่มีพื้นฐานจากแบบเรือ 90m OPV ที่บริษัท อู่กรุงเทพ จัดซื้อสิทธิบัตรมาจากบริษัท BAE Systems สหราชอาณาจักร โดยมีการปรับแต่งแบบเรือตามความต้องการของกองทัพเรือไทยอย่างมาก
โดยเฉพาะในส่วนลานจอดเฮลิคอปเตอร์ท้ายเรือที่รองรับเฮลิคอเตอร์ใช้งานทางทะเลขนาด 10tons เช่น เฮลิคอปเตอร์ปราบเรือดำน้ำ ฮ.ปด.๑ Sikorsky SH-60B Seahawk ที่คาดว่าจะมีการทดสอบการปฏิบัติการรับ-ส่งกับเรือต่อไปในอนาคต
ซึ่ง ร.ล.กระบี่ ซึ่งเป็นเรือลำแรกของชั้นนั้นลาดจอดเฮลิคอปเตอร์รองรับการรับ-ส่งเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเลขนาดไม่เกิน 7tons เท่านั้น เช่น ฮ.ตผ.๑ Super Lynx, เฮลิคอปเตอร์ลำเลียง ฮ.ลล.๒ Bell 212, ฮ.ลล.๔ Sikorsky S-76B และ ฮ.ลล.๖ Airbus Helicopter H145M
จะเห็นว่าการก่อสร้างตัวเรือ การติดตั้งอุปกรณ์-อาวุธ การทำสีและทาเครื่องหมายบนเรือเสร็จไปมากแล้ว โดยในท้ายเรือหน้าลานจอดเฮลิคอปเตอร์(ไม่มีโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์) มีการติดตั้งสองแท่นยิงสำหรับรองรับอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ Boeing Harpoon Block II จำนวน ๘นัด
รวมถึงปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid Multifeed ที่หัวเรือ(https://aagth1.blogspot.com/2019/02/7662-super-rapid.html) และปืนใหญ่กล DS30MR 30mm ๒กระบอกที่ข้างสะพานเดินเรือ(https://aagth1.blogspot.com/2019/05/blog-post_13.html)
หลังพิธีปล่อยเรือลงน้ำอย่างเป็นทางการในวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ เรือจะยังมีการติดตั้งระบบอุปกรณ์เพิ่มเติมและการทดลองเรือต่อไปอีกจนกว่าที่จะมีพิธีขึ้นระวางประจำการ โดย ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ จะเข้าประจำการใน หมวดเรือที่๑ กองเรือตรวจอ่าว กองเรือยุทธการ ครับ
วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
กองทัพเรือมาเลเซียฝึกยิงอาวุธปล่อยนำวิถี Exocet MM40 และ Sea Skua ในทะเลจีนใต้
Malaysia flexes missile capabilities in South China Sea amid fresh tensions
Screengrab from a video released by the Royal Malaysian Navy, showing KD Kasturi launching the MM40 Exocet anti-ship missile. Source: Royal Malaysian Navy
https://www.janes.com/article/89904/malaysia-flexes-missile-capabilities-in-south-china-sea-amid-fresh-tensions
กองทัพเรือมาเลเซีย(RMN: Royal Malaysian Navy, TLDM: Tentera Laut DiRaja Malaysia) ได้ทำการแสดงที่หาได้ยากของขีดความความสามารถด้านอาวุธปล่อยนำวิถีของตนในเขตน่านน้ำพิพาทเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2019
ในฐานะส่วนขึ้นของการฝึกทางเรือ Kerismas และการฝึกทางเรือ Taming Sari ต่อต้านฉากหลังของความตึงเครียดล่าสุดที่เกิดขึ้นในทะเลจีนใต้
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำสองแบบได้ถูกทำการยิงจากเรือคอร์เวตชั้น Kasturi(Type FS 1500) คือ F25 KD Kasturi และเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Leonardo(เดิม AgustaWestland) Sea Lynx 300
โดยเรือคอร์เวต KD Kasturi ทำการยิงอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ MBDA Exocet MM40 Block II ขณะที่เฮลิคอปเตอร์ Sea Lynx 300 ทำการยิงอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นต่อต้านเรือผิวน้ำ Sea Skua
"ความสำเร็จของการยิงอาวุธปล่อยนำวิถีเป็นการยืนยันว่ากองทัพเรือมาเลเซียสามารถดำเนินการปฏิบัติการในทะเลจีนใต้ได้ การปฏิบัติการฝึกเหล่านี้จะสาความมั่นใจแก่กลุ่มชุมชนทางทะเล
โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรมาเลเซีย ที่กองทัพเรือมาเลเซียและกองทัพมาเลเซียพร้อมยืนยันที่จะรักษาสันติภาพและป้องกันผลประโยชน์ของพวกเขาในทะเลจีนใต้" รัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซีย Mohamad Bin Sabu กล่าว
คำกล่าวของรัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซีย Sabu ได้ถูกเน้นในแถลงการณ์ที่เผยแพร่โดยกระทรวงกลาโหมมาเลเซียเพื่อเป็นเครื่องหมายต่อการฝึกทางเรือของกองทัพเรือมาเลเซีย
การฝึกยิงอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำครั้งก่อนหน้าล่าสุดที่เป็นที่รับทราบโดยกองทัพเรือมาเลเซียได้มีขึ้นระหว่างการฝึกทางเรือในปี 2014
กำลังทางเรืออื่นๆของกองทัพเรือมาเลเซียที่เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกได้รวมถึง เรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้าชั้น Perdana Menter(Scorpene) คือ KD Tunku Abdul Rahman,
เรือคอร์เวตชั้น Laksamana(Assad) คือ F134 KD Laksamana Hang Nadim และ F137 KD Laksamana Tan Pusmah และเรือฟริเกตชั้น Lekiu คือ FFG30 KD Lekiu ครับ
Screengrab from a video released by the Royal Malaysian Navy, showing KD Kasturi launching the MM40 Exocet anti-ship missile. Source: Royal Malaysian Navy
https://www.janes.com/article/89904/malaysia-flexes-missile-capabilities-in-south-china-sea-amid-fresh-tensions
กองทัพเรือมาเลเซีย(RMN: Royal Malaysian Navy, TLDM: Tentera Laut DiRaja Malaysia) ได้ทำการแสดงที่หาได้ยากของขีดความความสามารถด้านอาวุธปล่อยนำวิถีของตนในเขตน่านน้ำพิพาทเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2019
ในฐานะส่วนขึ้นของการฝึกทางเรือ Kerismas และการฝึกทางเรือ Taming Sari ต่อต้านฉากหลังของความตึงเครียดล่าสุดที่เกิดขึ้นในทะเลจีนใต้
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำสองแบบได้ถูกทำการยิงจากเรือคอร์เวตชั้น Kasturi(Type FS 1500) คือ F25 KD Kasturi และเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Leonardo(เดิม AgustaWestland) Sea Lynx 300
โดยเรือคอร์เวต KD Kasturi ทำการยิงอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ MBDA Exocet MM40 Block II ขณะที่เฮลิคอปเตอร์ Sea Lynx 300 ทำการยิงอาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้นต่อต้านเรือผิวน้ำ Sea Skua
"ความสำเร็จของการยิงอาวุธปล่อยนำวิถีเป็นการยืนยันว่ากองทัพเรือมาเลเซียสามารถดำเนินการปฏิบัติการในทะเลจีนใต้ได้ การปฏิบัติการฝึกเหล่านี้จะสาความมั่นใจแก่กลุ่มชุมชนทางทะเล
โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรมาเลเซีย ที่กองทัพเรือมาเลเซียและกองทัพมาเลเซียพร้อมยืนยันที่จะรักษาสันติภาพและป้องกันผลประโยชน์ของพวกเขาในทะเลจีนใต้" รัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซีย Mohamad Bin Sabu กล่าว
คำกล่าวของรัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซีย Sabu ได้ถูกเน้นในแถลงการณ์ที่เผยแพร่โดยกระทรวงกลาโหมมาเลเซียเพื่อเป็นเครื่องหมายต่อการฝึกทางเรือของกองทัพเรือมาเลเซีย
การฝึกยิงอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำครั้งก่อนหน้าล่าสุดที่เป็นที่รับทราบโดยกองทัพเรือมาเลเซียได้มีขึ้นระหว่างการฝึกทางเรือในปี 2014
กำลังทางเรืออื่นๆของกองทัพเรือมาเลเซียที่เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกได้รวมถึง เรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้าชั้น Perdana Menter(Scorpene) คือ KD Tunku Abdul Rahman,
เรือคอร์เวตชั้น Laksamana(Assad) คือ F134 KD Laksamana Hang Nadim และ F137 KD Laksamana Tan Pusmah และเรือฟริเกตชั้น Lekiu คือ FFG30 KD Lekiu ครับ