Russian Navy to upgrade Kuznetsov
The Russian Navy aircraft carrier Admiral Kuznetsov in the North Sea in October 2016. The ship's announced refit is likely to leave Russia without an aircraft carrier until at least 2021. Source: Norwegian MoD
http://www.janes.com/article/79619/russian-navy-to-upgrade-kuznetsov
สัญญาที่ได้รับการลงนามสำหรับการปรับปรุงความทันสมัยเรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov ซึ่งเป็นเรือบรรทุกเครื่องบินเพียงลำเดียวที่ประจำการในกองทัพเรือรัสเซีย(Russian Navy) ตามที่แหล่งข่าวรัสเซียรายงาน
โครงการปรับปรุงเรือนี้จะมีวงเงินราว 55-62 billion Rubles($887 million-$1 billion) และจะมีวิศวกรและช่างเทคนิคมากกว่า 1,000คนร่วมการทำงาน
วงเงินโครงการรวมดังกล่าวนั้นได้รับการอธิบายจากแหล่งข้อมูลในภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงรัสเซียว่า "เกินกว่าความพอประมาณ" แต่ยังไม่เพียงพอที่จะดำเนินการปรับปรุงความทันสมัยของเรือที่มีความสำคัญสูงยิ่งยวดได้
งานปรับปรุงเรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov จะมีการดำเนินการที่โรงงานซ่อมเรือที่35 ใน Murmansk ซึ่งเป็นอู่ซ่อมเรือในเครือข่ายศูนย์ซ่อมเรือ Zvezdochki ใน Severodvinsk
รองรัฐมนตรีกลาโหมรัสเซียด้านการจัดซื้อจัดจ้าง Yuri Borisov ได้แถลงในเดือนเมษายนว่างานซ่อมปรับปรุงทั้งหมดควรจะเสร็จสิ้นได้ในสิ้นปี 2020 และเรือจะกลับเข้าประจำการใหม่ในปี 2021
นั่นหมายความว่ากองทัพเรือรัสเซียจะไม่มีเรือบรรทุกเครื่องบินที่พร้อมปฏิบัติการไปจนถึงปี 2021 อย่างไรก็ตามการปรับปรุงเรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov นั้นเป็นการปรับปรุงเฉพาะหน้าอย่างจำกัดเท่านั้น
ส่วนพื้นฐานการออกแบบเรือที่จำเป็นต้องไดรับการปรับปรุงคือระบบขับเคลื่อน โดยเครื่องยนต์กังหันไอน้ำที่เรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov ใช้ในปัจจุบันถูกสร้างจากยูเครน และการเปลี่ยนทดแทนจะทำได้เฉพาะจากแหล่งยูเครนหรือจากสหรัฐฯเท่านั้น
ซึ่งจากความขัดแย้งที่ยูเครนตัดความสัมพันธ์ทางทหารต่อรัสเซียที่เข้าผนวก Crimea และสนับสนุนกลุ่มติดอาวุธทำสงครามกับกองกำลังความมั่นคงรัฐบาลยูเครนในภาค Donbass ตั้งแต่ปี 2014 ทำให้การจัดหาซ่อมทดแทนชิ้นส่วนเครื่องยนต์จากยูเครนหรือสหรัฐฯไม่สามารถทำได้
ดังนั้นหม้อต้มน้ำทั้ง 8หม้อของเครื่องยนต์กังหันไอน้ำเดิมของเรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov จำเป็นจะต้องถูกทดแทนด้วยระบบใหม่ที่ทันสมัยและน่าเชื่อถือมากกว่า
ส่วนที่สองที่จำเป็นต้องมีการเปลี่ยนคือระบบอุปกรณ์ไฟฟ้าประจำเรือต่างๆ รวมถึงระบบตรวจจับและอาวุธ ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุการใช้งานมานานและล้าสมัย
เรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov ปัจจุบันติดตั้งระบบ radar Mars-Passat(NATO กำหนดรหัส Sky Watch) ซึ่งเป็น phased-array radar ยุคแรกที่มีพื้นฐานพัฒนาระบบมาตั้งยุคอดีตสหภาพโซเวียต
อย่างไรก็ตาม Mars-Passat radar นั้นไม่เคยสามารถที่จะทำงานตามคุณสมบัติได้แม้แต่ในสมัยกองทัพเรือโซเวียต และปัจจุบันนับเป็นระบบ Radar ที่ตกยุคล้าสมัยแล้ว
เรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov จะได้รับการติดตั้งระบบ Radar ยุคปัจจุบัน Almaz-Antei Poliment-Redut ซึ่งสามารถทำงานร่วมกันกับระบบอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศ S-350 Vityaz รุ่นประจำเรือผิวน้ำใหม่
ระบบอาวุธป้องกันระยะประชิด(CIWS: Close-In Weapon System)ที่เดิมติดตั้ง Kashtan ปืนใหญ่กลหกลำกล้องหมุน 30mm สองกระบอกและอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศ Kortik 8นัด จะถูกเปลี่ยนเป็นระบบ Pantsir-M ใหม่(http://aagth1.blogspot.com/2017/07/pantsir-me.html)
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ P-700 Granit(NATO กำหนดรหัส SS-N-19 Shipwreck) ที่เรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov ติดตั้งในท่อยิงแนวดิ่ง(Vertical Launching System) ใต้ดาดฟ้าบินของเรือเดิมจะถูกเปลี่ยนเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยนำวิถีร่อนต่อต้านเรือผิวน้ำ 3M-54 Kalibr ใหม่ ซึ่งแท่นยิง VLS สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีร่อน 3M14NK Kaliber-NK จะสามารถใช้ร่วมกับอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ 3M55 P-800 Oniks และอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำความเร็วเหนือเสียง 3M22 Zircon ได้ด้วย(http://aagth1.blogspot.com/2017/04/admiral-kuznetsov-kalibr.html)
ทั้งนี้ในปี 2016 เรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov ถูกส่งไปวางกำลังที่ทะเล Mediterranean และได้ส่งกำลังอากาศยานประจำเรือปฏิบัติการร่วมกับกองทัพอากาศรัสเซียในซีเรียระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2016
ตลอดระยะเวลาสองเดือนของการปฏิบัติการมีการปฏิบัติการบินจากดาดฟ้าอากาศยาน 420เที่ยวบิน ซึ่งร่วมถึงปฏิบัติการบินเวลากลางคืน 117เที่ยวบิน สามารถทำลายเป้าหมายของผู้ก่อการร้ายได้ 1,000เป้าหมาย(http://aagth1.blogspot.com/2017/02/admiral-kuznetsov.html)
กำลังอากาศยานประจำเรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov ได้สูญเสียเครื่องบินขับไล่ MiG-29K และ Su-33 อย่างละเครื่อง รวม2เครื่องระหว่างการลงจอด ซึ่งนักบินทั้งสองนายดีดตัวออกมาได้อย่างปลอดภัย(http://aagth1.blogspot.com/2016/12/su-33-admiral-kuznetsov.html)
อย่างไรก็ตามจากภาพถ่ายดาวเทียมซึ่ง Jane's ได้เคยรายงานไปเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2016 นั้น แสดงให้เห็นว่าอากาศยานประจำเรือบรรทุกเครื่องบิน Admiral Kuznetsov ส่วนใหญ่จะทำการบินปฏิบัติการที่ฐานทัพอากาศ Humaymim ใน Latakia มากกว่าจะปฏิบัติการจากเรือครับ
วันจันทร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561
วันอาทิตย์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2561
Bell หวังที่จะได้รับการจัดหาเฮลิคอปเตอร์ Bell 412EPI จากฟิลิปปินส์ใหม่อีกครั้ง
Bell hopeful on renewed Philippine 412EPI interest
Bell appears hopeful that it can revive, in some form, an order from the Philippines for 412EPI medium-twin transport helicopters that was cancelled almost as soon as it was announced.
https://www.flightglobal.com/news/articles/bell-hopeful-on-renewed-philippine-412epi-interest-448146/
Philippine Air Force Bell 412EP(jetphotos.net)
บริษัท Bell สหรัฐฯ-แคนาดายังคงมีความหวังว่าในรูปแบบใดทางหนึ่งจะได้รับการสั่งจัดหาเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปขนาดกลางสองเครื่องยนต์ Bell 412EPI จำนวน 16เครื่องจากกองทัพอากาศฟิลิปปินส์(Philippine Air Force) อีกครั้ง
หลังจากที่ได้มีการประกาศไปก่อนหน้านี้ในงาน Singapore Air Show 2018 ที่สิงคโปร์เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ แต่หลังจากนั้นเพียง 7วันก็ถูกคำสั่งยกเลิกการจัดหาโดยประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ Rodrigo Duterte ไปอย่างรวดเร็ว
บริษัท Bell มีสายการผลิตเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Bell 412EPI ที่โรงงานอากาศยาน Mirabel ในแคนาดา และได้เผชิญกับการวิพากษ์วิจารณ์ภายในประเทศโดยรัฐบาลแคนาดา
ว่าการขาย ฮ.Bell 412EPI แก่ฟิลิปปินส์นี้ได้ถูกกล่าวว่าจะสนับสนุนนำไปใช้ในการละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลฟิลิปปินส์(เช่นการปราบปรามยาเสพติดโดยเจ้าหน้าที่รัฐที่มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก) นำมาสู่การยกเลิกการจัดหาไปในที่สุด
แต่ทาง Patrick Moulay รองประธานอาวุธฝ่ายฝ่ายธุรกิจเชิงพาณิชย์นานาชาติของ Bell กล่าวเมื่อวันที่ 27 เมษายน ที่ผ่านมา ระบุอ้างอิงถึงประเทศในกลุ่มเอเชียแปซิฟิกในฐานะว่าเป็นลูกค้าทีมีศักยภาพเป็นไปได้ในอนาคตสำหรับเฮลิคอปเตอร์ Bell 412EPI
ที่สังเกตได้คือมี "ข้อมูลความเชื่อมั่นเชิงพาณิชย์" ที่เขาไม่สามารถเปิดเผยได้ ถึงกระนั้น Moulay กล่าวว่าการเจรจากับฟิลิปปินส์ยังคงมีการดำเนินการต่อไปอยู่
"เรายังคงการหารือเพื่อจะเห็นว่าเราจะสามารถจัดการความต้องการด้านภารกิจและการปฏิบัติการแก่ลูกค้าของเราได้อย่างไร เรากำลังพูดคุยกับพวกเขาในระเบียบปฏิบัติประจำวัน แต่เราควรจะรอสักอีกหลายสัปดาห์เล็กน้อยจากนี้ก่อนเราจะเข้าสู่รายละเอียดที่มากกว่านี้" Moulay กล่าว
Moulay ชี้ว่ามีข้อตกลงจำนวนมากในช่องทางสำหรับ ฮ.Bell 412EPI "ซึ่งใกล้อย่างยิ่งยวดจะได้รับการลงนามแล้ว" นี่น่าจะดูเหมือนว่า Bell น่าจะพร้อมที่จะเปิดตัวในงานแสดงการบินนานาชาติ Farnborough Airshow 2018 ที่ สหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 16-22 กรกฏาคม ที่จะถึงนี้
เมื่อเร็วๆนี้ Bell เพิ่งจะได้รับการลงนามสัญญาจัดหากับมอนเตเนโกสำหรับตัวอย่างของเครื่องยนต์ turboshaft แบบ Pratt & Whitney Canada PT6T-9 จำนวน 2เครื่อง
จากรายได้ผลประกอบการล่าสุด Scott Donnelly หัวหน้าบริษัท Textron สหรัฐฯบริษัทแม่ของ Bell เปิดเผยว่าในไตรมาสแรกของปี 2018 นี้ Bell ได้เสร็จสิ้นการได้รับ "การสั่งจัดหาอากาศยานสองราย" สำหรับ ฮ.Bell 412 โดยไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติม
ปัจจุบันกองทัพอากาศฟิลิปปินส์มีเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Bell 412EP จำนวนราว 7เครื่อง ประจำการในกองบินเฮลิคอปเตอร์ทางยุทธวิธีที่205 ฐานทัพอากาศ Benito Ebuen
โดยกองบิน205 ยังคงมีเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Bell UH-1D และ UH-1H รวมราว 28เครื่อง ซึ่งมีอายุการใช้งานมานานจำเป็นต้องมีการจัดหาเฮลิคอปเตอร์แบบใหม่ทดแทนครับ
Bell appears hopeful that it can revive, in some form, an order from the Philippines for 412EPI medium-twin transport helicopters that was cancelled almost as soon as it was announced.
https://www.flightglobal.com/news/articles/bell-hopeful-on-renewed-philippine-412epi-interest-448146/
Philippine Air Force Bell 412EP(jetphotos.net)
บริษัท Bell สหรัฐฯ-แคนาดายังคงมีความหวังว่าในรูปแบบใดทางหนึ่งจะได้รับการสั่งจัดหาเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปขนาดกลางสองเครื่องยนต์ Bell 412EPI จำนวน 16เครื่องจากกองทัพอากาศฟิลิปปินส์(Philippine Air Force) อีกครั้ง
หลังจากที่ได้มีการประกาศไปก่อนหน้านี้ในงาน Singapore Air Show 2018 ที่สิงคโปร์เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ แต่หลังจากนั้นเพียง 7วันก็ถูกคำสั่งยกเลิกการจัดหาโดยประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ Rodrigo Duterte ไปอย่างรวดเร็ว
บริษัท Bell มีสายการผลิตเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Bell 412EPI ที่โรงงานอากาศยาน Mirabel ในแคนาดา และได้เผชิญกับการวิพากษ์วิจารณ์ภายในประเทศโดยรัฐบาลแคนาดา
ว่าการขาย ฮ.Bell 412EPI แก่ฟิลิปปินส์นี้ได้ถูกกล่าวว่าจะสนับสนุนนำไปใช้ในการละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลฟิลิปปินส์(เช่นการปราบปรามยาเสพติดโดยเจ้าหน้าที่รัฐที่มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก) นำมาสู่การยกเลิกการจัดหาไปในที่สุด
แต่ทาง Patrick Moulay รองประธานอาวุธฝ่ายฝ่ายธุรกิจเชิงพาณิชย์นานาชาติของ Bell กล่าวเมื่อวันที่ 27 เมษายน ที่ผ่านมา ระบุอ้างอิงถึงประเทศในกลุ่มเอเชียแปซิฟิกในฐานะว่าเป็นลูกค้าทีมีศักยภาพเป็นไปได้ในอนาคตสำหรับเฮลิคอปเตอร์ Bell 412EPI
ที่สังเกตได้คือมี "ข้อมูลความเชื่อมั่นเชิงพาณิชย์" ที่เขาไม่สามารถเปิดเผยได้ ถึงกระนั้น Moulay กล่าวว่าการเจรจากับฟิลิปปินส์ยังคงมีการดำเนินการต่อไปอยู่
"เรายังคงการหารือเพื่อจะเห็นว่าเราจะสามารถจัดการความต้องการด้านภารกิจและการปฏิบัติการแก่ลูกค้าของเราได้อย่างไร เรากำลังพูดคุยกับพวกเขาในระเบียบปฏิบัติประจำวัน แต่เราควรจะรอสักอีกหลายสัปดาห์เล็กน้อยจากนี้ก่อนเราจะเข้าสู่รายละเอียดที่มากกว่านี้" Moulay กล่าว
Moulay ชี้ว่ามีข้อตกลงจำนวนมากในช่องทางสำหรับ ฮ.Bell 412EPI "ซึ่งใกล้อย่างยิ่งยวดจะได้รับการลงนามแล้ว" นี่น่าจะดูเหมือนว่า Bell น่าจะพร้อมที่จะเปิดตัวในงานแสดงการบินนานาชาติ Farnborough Airshow 2018 ที่ สหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 16-22 กรกฏาคม ที่จะถึงนี้
เมื่อเร็วๆนี้ Bell เพิ่งจะได้รับการลงนามสัญญาจัดหากับมอนเตเนโกสำหรับตัวอย่างของเครื่องยนต์ turboshaft แบบ Pratt & Whitney Canada PT6T-9 จำนวน 2เครื่อง
จากรายได้ผลประกอบการล่าสุด Scott Donnelly หัวหน้าบริษัท Textron สหรัฐฯบริษัทแม่ของ Bell เปิดเผยว่าในไตรมาสแรกของปี 2018 นี้ Bell ได้เสร็จสิ้นการได้รับ "การสั่งจัดหาอากาศยานสองราย" สำหรับ ฮ.Bell 412 โดยไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติม
ปัจจุบันกองทัพอากาศฟิลิปปินส์มีเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Bell 412EP จำนวนราว 7เครื่อง ประจำการในกองบินเฮลิคอปเตอร์ทางยุทธวิธีที่205 ฐานทัพอากาศ Benito Ebuen
โดยกองบิน205 ยังคงมีเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Bell UH-1D และ UH-1H รวมราว 28เครื่อง ซึ่งมีอายุการใช้งานมานานจำเป็นต้องมีการจัดหาเฮลิคอปเตอร์แบบใหม่ทดแทนครับ
วันเสาร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2561
มาเลเซียทำพิธีประจำการเรือฝึกใหม่ 2ลำ KD Gagah Samudera และ KD Teguh Samudera
Royal Malaysian Navy commissions two new training ships
The RMN commissioned its two new training ships, KD Gagah Samudera and KD Teguh Samudera, in a ceremony held on 26 April at the RMN's Lumut Naval Base. (Royal Malaysian Navy)
http://www.janes.com/article/79605/royal-malaysian-navy-commissions-two-new-training-ships
https://www.facebook.com/RoyalMalaysianNavy/posts/1751375978253736
กองทัพเรือมาเลเซีย(RMN: Royal Malaysian Navy, TLDM: Tentera Laut DiRaja Malaysia) ทำพิธีขึ้นระวางประจำการเรือฝึกใหม่ 2ลำ ณ ฐานทัพเรือ Lumut เมื่อวันที่ 26 เมษายน ที่ผ่านมาคือ KD Gagah Samudera(หมายเลขเรือ 271) และ KD Teguh Samudera(หมายเลขเรือ 272)
โดยในพิธีมีผู้บัญชาการทหารเรือมาเลเซีย พลเรือเอก Tan Sri Ahmad Kamarulzaman Hj Ahmad Badaruddin และแขกผู้มีเกียรติในกองทัพ รัฐบาล และอุตสาหกรรมทางเรือและความมั่นคงร่วมงาน
ตามข้อมูลจาก Jane’s Fighting Ships เรือฝึกชั้น Gagah Samudera มีความยาวตัวเรือ 76m กว้าง 11m กินน้ำลึก 3m ระวางขับน้ำประมาณ 1,270tons ทำความเร็วได้สูงสุด 20knots ระยะเวลาปฏิบัติการนาน 21วันที่ความเร็วมัธยัสถ์ 12knots พิสัยทำการไกล 2,500nmi
ระบบอาวุธและอุปกรณ์บนเรือมี ปืนใหญ่กล MSI-Defence Seahawk DS-30M 30mm สหราชอาณาจักร 1กระบอก, ปืนกล 7.62mm 2กระบอก และระบบควบคุมการยิง Samsung/Thales เช่นเดียวกับ Radar, ระบบนำร่อง และระบบสื่อสาร
ด้านท้ายเรือมีดาดฟ้าเฮลิคอปเตอร์ซึ่งสามารถรองรับปฏิบัติการของเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเลขนาดกลาง เช่น Super Lynx และ Fennec และยังมีเรือยางท้องแบน(RHIB: Rigid Hull Inflatable Boat) ติดตั้งไปกับเรือ
เรือมีกำลังพล 50นาย และรองรับนักเรียนนายเรือได้ 60นาย โดยนอกจากภารกิจหลักในการฝึกแล้ว เรือฝึกชั้น Gagah Samudera ยังรองรับการปฏิบัติภารกิจตรวจการณ์ และค้นหาและกู้ภัยทางทะเลด้วย
สัญญาการจัดหาเรือฝึกชั้น Gagah Samudera ทั้ง 2ลำได้รับการลงนามระหว่างรัฐบาลมาเลเซียและ NGV Tech บริษัทอู่ต่อเรือมาเลเซียใน Sijangkang รัฐ Selangor เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2012
เรือฝึกชั้น Gagah Samudera มีพื้นฐานการออกแบบเรือโดยบริษัท Daewoo Shipbuilding and Marine Engineering(DSME) สาธารณรัฐเกาหลี
Block ของเรือลำแรก KD Gagah Samudera ถูกสร้างโดยอู่เรือ DSME ที่เกาหลีใต้และถูกส่งมาดำเนินการประกอบที่อู่เรือ NGV Tech มาเลเซีย และถูกปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2012
ส่วนเรือลำที่สอง KD Teguh Samudera ถูกสร้างโดยอู่เรือ NGV Tech มาเลเซียภายใต้การถ่ายทอด Technology จาก DSME เกาหลีใต้ และถูกปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2013
เรือฝึกชั้น Gagah Samudera ยังถูกออกแบบตามแนวคิด 'รองรับแต่ยังไม่ติดตั้ง' สำหรับระบบอาวุธและอุปกรณ์เพิ่มเติมอื่นๆที่สามารถเลือกนำมาติดตั้งภายหลัง เช่นในกรณีภาวะสงครามได้
เช่น แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศพิสัยใกล้ RIM-116 RAM, อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ Exocet MM40 Block2 หรือ แท่นยิง Torpedo เบาปราบเรือดำน้ำแฝดสามขนาด 324mm เป็นต้นครับ
The RMN commissioned its two new training ships, KD Gagah Samudera and KD Teguh Samudera, in a ceremony held on 26 April at the RMN's Lumut Naval Base. (Royal Malaysian Navy)
http://www.janes.com/article/79605/royal-malaysian-navy-commissions-two-new-training-ships
https://www.facebook.com/RoyalMalaysianNavy/posts/1751375978253736
กองทัพเรือมาเลเซีย(RMN: Royal Malaysian Navy, TLDM: Tentera Laut DiRaja Malaysia) ทำพิธีขึ้นระวางประจำการเรือฝึกใหม่ 2ลำ ณ ฐานทัพเรือ Lumut เมื่อวันที่ 26 เมษายน ที่ผ่านมาคือ KD Gagah Samudera(หมายเลขเรือ 271) และ KD Teguh Samudera(หมายเลขเรือ 272)
โดยในพิธีมีผู้บัญชาการทหารเรือมาเลเซีย พลเรือเอก Tan Sri Ahmad Kamarulzaman Hj Ahmad Badaruddin และแขกผู้มีเกียรติในกองทัพ รัฐบาล และอุตสาหกรรมทางเรือและความมั่นคงร่วมงาน
ตามข้อมูลจาก Jane’s Fighting Ships เรือฝึกชั้น Gagah Samudera มีความยาวตัวเรือ 76m กว้าง 11m กินน้ำลึก 3m ระวางขับน้ำประมาณ 1,270tons ทำความเร็วได้สูงสุด 20knots ระยะเวลาปฏิบัติการนาน 21วันที่ความเร็วมัธยัสถ์ 12knots พิสัยทำการไกล 2,500nmi
ระบบอาวุธและอุปกรณ์บนเรือมี ปืนใหญ่กล MSI-Defence Seahawk DS-30M 30mm สหราชอาณาจักร 1กระบอก, ปืนกล 7.62mm 2กระบอก และระบบควบคุมการยิง Samsung/Thales เช่นเดียวกับ Radar, ระบบนำร่อง และระบบสื่อสาร
ด้านท้ายเรือมีดาดฟ้าเฮลิคอปเตอร์ซึ่งสามารถรองรับปฏิบัติการของเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเลขนาดกลาง เช่น Super Lynx และ Fennec และยังมีเรือยางท้องแบน(RHIB: Rigid Hull Inflatable Boat) ติดตั้งไปกับเรือ
เรือมีกำลังพล 50นาย และรองรับนักเรียนนายเรือได้ 60นาย โดยนอกจากภารกิจหลักในการฝึกแล้ว เรือฝึกชั้น Gagah Samudera ยังรองรับการปฏิบัติภารกิจตรวจการณ์ และค้นหาและกู้ภัยทางทะเลด้วย
สัญญาการจัดหาเรือฝึกชั้น Gagah Samudera ทั้ง 2ลำได้รับการลงนามระหว่างรัฐบาลมาเลเซียและ NGV Tech บริษัทอู่ต่อเรือมาเลเซียใน Sijangkang รัฐ Selangor เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2012
เรือฝึกชั้น Gagah Samudera มีพื้นฐานการออกแบบเรือโดยบริษัท Daewoo Shipbuilding and Marine Engineering(DSME) สาธารณรัฐเกาหลี
Block ของเรือลำแรก KD Gagah Samudera ถูกสร้างโดยอู่เรือ DSME ที่เกาหลีใต้และถูกส่งมาดำเนินการประกอบที่อู่เรือ NGV Tech มาเลเซีย และถูกปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2012
ส่วนเรือลำที่สอง KD Teguh Samudera ถูกสร้างโดยอู่เรือ NGV Tech มาเลเซียภายใต้การถ่ายทอด Technology จาก DSME เกาหลีใต้ และถูกปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2013
เรือฝึกชั้น Gagah Samudera ยังถูกออกแบบตามแนวคิด 'รองรับแต่ยังไม่ติดตั้ง' สำหรับระบบอาวุธและอุปกรณ์เพิ่มเติมอื่นๆที่สามารถเลือกนำมาติดตั้งภายหลัง เช่นในกรณีภาวะสงครามได้
เช่น แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศพิสัยใกล้ RIM-116 RAM, อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ Exocet MM40 Block2 หรือ แท่นยิง Torpedo เบาปราบเรือดำน้ำแฝดสามขนาด 324mm เป็นต้นครับ
วันศุกร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2561
สหรัฐฯวางแผนปรับปรุงเครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล Do 228 กองทัพเรือไทย
US plans upgrade for Royal Thai Navy Do 228 maritime surveillance aircraft
http://www.janes.com/article/79591/us-plans-upgrade-for-royal-thai-navy-do-228-maritime-surveillance-aircraft
Dornier Do 228 101st Squadron, Wing 1, Royal Thai Naval Air Division, Royal Thai Fleet, Royal Thai Navy in Children's Day 2018 at U-Tapao RTN Airfield, 13 January 2018(https://www.facebook.com/ball.kittidej)
แผนที่กำลังได้รับการพัฒนาโดย กองบัญชาการระบบอากาศนาวี(NAVAIR: Naval Air Systems Command) กองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy)
เพื่อการปรับปรุงเครื่องบินลาดตระเวนแบบที่๑ บ.ลว.๑ Dornier Do 228 ฝูงบิน๑๐๑ กองบิน๑ กองการบินทหารเรือ กองทัพเรือไทย(RTN: Royal Thai Navy) ภายใต้เงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐฯตามโครงการสร้างขีดความสามารถหุ้นส่วน(Building Partner Capacity)
เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล บ.ลว.๑ Do 228 จากเยอรมนี กองทัพเรือไทยได้จัดหาเข้าประจำการชุดแรก ๓เครื่องในปี พ.ศ.๒๕๓๔(1991) และเพิ่มเติมอีก ๑เครื่องในปี พ.ศ.๒๕๔๖(2003) รวมทั้งหมด ๗เครื่อง
บ.ลว.๑ Do 228 กองทัพเรือไทยได้ถูกใช้ในภารกิจลาดตระเวนทางทะเลระยะปานกลาง เฝ้าตรวจยามฝั่ง ลำเลียงผู้ป่วย ค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล และการตรวจการณ์ในน่านน้ำเขตเศรษฐกิจจำเพาะ(EEZ: Exclusive Economic Zone)
ปัจจุบัน Do 228 กองทัพเรือไทยได้รับการติดตั้ง Radar ตรวจการณ์พื้นน้ำและสภาพอากาศแบบ Telephonics RDR 1550B สหรัฐฯ และกล้อง EO/IR(Electro-Optical/Infrared) แบบ FLIR Systems Star SAFIRE II สหรัฐที่ใต้ลำตัวเครื่อง
รวมถึงมีข้อมูลว่า Do 228 สามารถติดตั้งอาวุธได้เช่น กระเปาะจรวดไม่นำวิถีอากาศสู่พื้นขนาด 2.75"(70mm) สำหรับการโจมตีเบาต่อเป้าหมายผิวน้ำหรือบนฝั่ง
ตามเอกสารขอข้อมูล(RFI: Request for Information) ที่ออกโดย NAVAIR กองทัพเรือสหรัฐฯเมื่อวันที่ 23 เมษายน แผนการปรับปรุงเครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล Do 228 กองทัพเรือไทยจะรวมถึงการติดตั้งระบบตรวจจับและระบบภารกิจใหม่
ส่วนประกอบที่มีรายการระบุในเอกสาร RFI เช่น multimode radar ใหม่ที่มีระยะตรวจจับต่ำสุดที่ 160nmi(296km), กล้อง EO/IR ใหม่แบบมีระบบรักษาสมดุลห้าแกนติดตั้งแบบ multipayload, ชุดระบบสื่อสารใหม่ประกอบด้วยวิทยุสื่อสารนอกระยะสายตา(ย่านความถี่ X-band) และ Datalink,
ระบบ Avionic ใหม่ประกอบด้วย ระบบนำร่อง, ระบบค้นหาทิศทางอัตโนมัติ, ระบบเครื่องวัดช่วยลงจอด(instrument landing system), ระบบจัดการการบิน, ระบบแจ้งเตือนการจราจรทางอากาศและเลี่ยงการชน และเครื่องส่งสัญญาณ ADS-B
สถานีเจ้าหน้าที่ภารกิจและชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใหม่, ระบบระบุตัวตนอัตโนมัติ(AIS: Automatic Identification System), ระบบตรวจจับการแพร่คลื่นสัญญาณไฟฟ้า(ESM: Electronic Support Measures) และเครื่องบันทึกข้อมูลภารกิจ
ทั้งนี้ กองการบินทหารเรือ กองทัพเรือไทยได้ปลดประจำการเครื่องบินตรวจการณ์ต่อต้านเรือผิวน้ำ บ.ตผ.๒ก/ข P-3T ๒เครื่องที่เข้าประจำการในปี พ.ศ.๒๕๓๖(1993) และ UP-3T ๑เครื่องที่เข้าประจำการในปี พ.ศ.๒๕๓๙(1996) ฝูงบิน๑๐๒ กองบิน๑ ทั้ง ๓เครื่องในปี พ.ศ.๒๕๕๗(2014)
ทำให้กองทัพเรือไทยยังคงมีโครงการจัดหาเครื่องบินตรวจการณ์ทางทะเลใหม่จำนวน ๓เครื่องในอนาคต โดยแบบเครื่องที่กำลังอยู่ในความสนใจมีเช่น CN-235-220 MPA(Maritime Patrol Aircraft) ที่ผลิตโดย PT Dirgantara Indonesia(PTDI) อินโดนีเซียครับ(http://aagth1.blogspot.com/2018/02/cn-235-220-mpa.html)
http://www.janes.com/article/79591/us-plans-upgrade-for-royal-thai-navy-do-228-maritime-surveillance-aircraft
Dornier Do 228 101st Squadron, Wing 1, Royal Thai Naval Air Division, Royal Thai Fleet, Royal Thai Navy in Children's Day 2018 at U-Tapao RTN Airfield, 13 January 2018(https://www.facebook.com/ball.kittidej)
แผนที่กำลังได้รับการพัฒนาโดย กองบัญชาการระบบอากาศนาวี(NAVAIR: Naval Air Systems Command) กองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy)
เพื่อการปรับปรุงเครื่องบินลาดตระเวนแบบที่๑ บ.ลว.๑ Dornier Do 228 ฝูงบิน๑๐๑ กองบิน๑ กองการบินทหารเรือ กองทัพเรือไทย(RTN: Royal Thai Navy) ภายใต้เงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐฯตามโครงการสร้างขีดความสามารถหุ้นส่วน(Building Partner Capacity)
เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล บ.ลว.๑ Do 228 จากเยอรมนี กองทัพเรือไทยได้จัดหาเข้าประจำการชุดแรก ๓เครื่องในปี พ.ศ.๒๕๓๔(1991) และเพิ่มเติมอีก ๑เครื่องในปี พ.ศ.๒๕๔๖(2003) รวมทั้งหมด ๗เครื่อง
บ.ลว.๑ Do 228 กองทัพเรือไทยได้ถูกใช้ในภารกิจลาดตระเวนทางทะเลระยะปานกลาง เฝ้าตรวจยามฝั่ง ลำเลียงผู้ป่วย ค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล และการตรวจการณ์ในน่านน้ำเขตเศรษฐกิจจำเพาะ(EEZ: Exclusive Economic Zone)
ปัจจุบัน Do 228 กองทัพเรือไทยได้รับการติดตั้ง Radar ตรวจการณ์พื้นน้ำและสภาพอากาศแบบ Telephonics RDR 1550B สหรัฐฯ และกล้อง EO/IR(Electro-Optical/Infrared) แบบ FLIR Systems Star SAFIRE II สหรัฐที่ใต้ลำตัวเครื่อง
รวมถึงมีข้อมูลว่า Do 228 สามารถติดตั้งอาวุธได้เช่น กระเปาะจรวดไม่นำวิถีอากาศสู่พื้นขนาด 2.75"(70mm) สำหรับการโจมตีเบาต่อเป้าหมายผิวน้ำหรือบนฝั่ง
ตามเอกสารขอข้อมูล(RFI: Request for Information) ที่ออกโดย NAVAIR กองทัพเรือสหรัฐฯเมื่อวันที่ 23 เมษายน แผนการปรับปรุงเครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล Do 228 กองทัพเรือไทยจะรวมถึงการติดตั้งระบบตรวจจับและระบบภารกิจใหม่
ส่วนประกอบที่มีรายการระบุในเอกสาร RFI เช่น multimode radar ใหม่ที่มีระยะตรวจจับต่ำสุดที่ 160nmi(296km), กล้อง EO/IR ใหม่แบบมีระบบรักษาสมดุลห้าแกนติดตั้งแบบ multipayload, ชุดระบบสื่อสารใหม่ประกอบด้วยวิทยุสื่อสารนอกระยะสายตา(ย่านความถี่ X-band) และ Datalink,
ระบบ Avionic ใหม่ประกอบด้วย ระบบนำร่อง, ระบบค้นหาทิศทางอัตโนมัติ, ระบบเครื่องวัดช่วยลงจอด(instrument landing system), ระบบจัดการการบิน, ระบบแจ้งเตือนการจราจรทางอากาศและเลี่ยงการชน และเครื่องส่งสัญญาณ ADS-B
สถานีเจ้าหน้าที่ภารกิจและชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใหม่, ระบบระบุตัวตนอัตโนมัติ(AIS: Automatic Identification System), ระบบตรวจจับการแพร่คลื่นสัญญาณไฟฟ้า(ESM: Electronic Support Measures) และเครื่องบันทึกข้อมูลภารกิจ
ทั้งนี้ กองการบินทหารเรือ กองทัพเรือไทยได้ปลดประจำการเครื่องบินตรวจการณ์ต่อต้านเรือผิวน้ำ บ.ตผ.๒ก/ข P-3T ๒เครื่องที่เข้าประจำการในปี พ.ศ.๒๕๓๖(1993) และ UP-3T ๑เครื่องที่เข้าประจำการในปี พ.ศ.๒๕๓๙(1996) ฝูงบิน๑๐๒ กองบิน๑ ทั้ง ๓เครื่องในปี พ.ศ.๒๕๕๗(2014)
ทำให้กองทัพเรือไทยยังคงมีโครงการจัดหาเครื่องบินตรวจการณ์ทางทะเลใหม่จำนวน ๓เครื่องในอนาคต โดยแบบเครื่องที่กำลังอยู่ในความสนใจมีเช่น CN-235-220 MPA(Maritime Patrol Aircraft) ที่ผลิตโดย PT Dirgantara Indonesia(PTDI) อินโดนีเซียครับ(http://aagth1.blogspot.com/2018/02/cn-235-220-mpa.html)
วันพฤหัสบดีที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2561
ภาพ Oplot-T ที่ยูเครนล่าสุด-๒๐
Oplot-T Main Battle Tank for Royal Thai Army at Malyshev Plant in Kharkiv, Ukraine
Orders of "Malyshev Plant" has both from the Ministry of Defense of Ukraine and the foreign customers
Malyshev plant to update the equipment and are preparing to produce BTR-3 and BTR-4
http://kharkivoda.gov.ua/ru/galerei/92527
ชุดภาพการเยี่ยมชมโรงงานและมอบรางวัลความสำเร็จแก่พนักงานของคณะผู้บริหารเมือง Kharkiv ที่โรงงาน Malyshev ยูเครนนั้น ได้แสดงถึงรถถังหลัก Oplot-T ของกองทัพบกไทยจำนวน ๕-๖คันที่สร้างเสร็จสมบูรณ์แล้วในโรงงาน
คาดว่า ถ.หลัก Oplot-T ดังกล่าวน่าจะเป็นรถชุดสุดท้ายสำหรับกองทัพบกไทย ตามที่Ukroboronprom รัฐวิสาหกิจด้านการจัดการอาวุธยุทโธปกรณ์ของรัฐบาลยูเครนได้แถลงเมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคมที่ผ่านมาว่า สัญญาการจัดหารถถังหลัก Oplot-T กับกองทัพบกไทยได้เสร็จสิ้นลงแล้ว
Alexander Khlany ผู้อำนวยการทั่วไปของโรงงาน Malyshev ยูเครนได้แถลงว่าโรงงานกำลังเตรียมปรับปรุงอุปกรณ์ในโรงงานและกำลังเตรียมเปิดสายการผลิตสำหรับยานเกราะล้อยาง BTR-3 8x8 และยานเกราะล้อยาง BTR-4 8ป8
โดยโรงงาน Malyshev ได้รับการสั่งจัดหาสายการผลิตรถถังและยานเกราะจากทั้งกระทรวงกลาโหมยูเครนและลูกค้าจากต่างประเทศ(ไทยและปากีสถาน) โดยสายการผลิตรถถังหลัก Oplot หลังจากนี้จะเป็นของกองทัพยูเครนเองซึ่งมีความต้องการขั้นต้นราว ๑๐คัน
กองทัพบกไทยได้สั่งจัดหารถถังหลัก Oplot-T จำนวน ๔๙คัน วงเงิน ๗,๒๐๐ล้านบาท($240 million) จาก Ukroboronprom ยูเครน ในปี พ.ศ.๒๕๕๔(2011)
อย่างไรก็ตามตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๗(2014)ถึงปัจจุบัน พ.ศ.๒๕๖๑(2018) ยูเครนมีความล่าช้าในส่งมอบรถถังหลัก Oplot-T เข้าประจำการใน กองพันทหารม้าที่๒ กองพลทหารราบที่๒ รักษาพระองค์ มาหลายปี
รถถังหลัก Oplot-T ชุดแรก ๕คันได้ถูกจัดส่งทางเรือมาถึงไทยเมื่อ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๗(2014) ชุดที่สอง ๕คันมาถึงไทยเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๘(2015) ชุดที่สาม ๕คันในเดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๕๙(2016) ชุดที่สี่ ๕คันในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๙
ชุดที่ห้า ๕คันในเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๐(2017) ชุดที่หก ๖คันในเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐ และชุดที่เจ็ดอีก ๕คันในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๐ รวมในปี 2017 ส่งมอบให้แล้ว ๓๖คัน
มีรายงานก่อนหน้าในช่วงปลายเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๖๑(2018) ยูเครนได้ทำการจัดส่งรถถังหลัก Oplot-T ชุดล่าสุดจำนวน ๗คันมาทางเรือขนส่งสินค้าเดินทางมายังไทยแล้ว ทำให้ ม.พัน.๒ พล.ร.๒ รอ. ได้รับมอบรถรวม ๔๓คันแล้ว(http://aagth1.blogspot.com/2018/03/oplot-t.html)
ซึ่งตามอัตราการจัดกองพันรถถังใหม่ของเหล่าทหารม้ากองทัพบกไทยจะมีรถถังหลักประจำการอยู่ ๔๗คัน โดย ถ.หลัก Oplot-T อีก ๒คันจะอยู่ในส่วนฝึกศึกษาที่ กองพันทหารม้าที่๒๒ โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดิศร สระบุรี
ทำให้ยูเครนยังคงเหลือการส่งมอบรถถังหลัก Oplot-T ชุดสุดท้ายให้กองทัพบกไทยอีกราว ๖คัน รวมถึงรถสายพานกู้ซ่อม Atlet ARV(Armoured Recovery Vehicle) ๒คัน ที่มีการเปิดสายการผลิตสำหรับกองทัพบกไทย(http://aagth1.blogspot.com/2018/04/atlet.html)
ตามที่ UkrOboronProm ยูเครนยืนยันจะส่งมอบรถถังหลัก Oplot-T ให้กองทัพบกไทยครบตามสัญญาในปี พ.ศ.๒๕๖๑(2018) นี้ครับ(http://aagth1.blogspot.com/2017/11/btr-4e-oplot-t-2018.html)
วันพุธที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2561
เครื่องบินขับไล่ Typhoon และเครื่องบินโจมตีอิเล็กทรอนิกส์ Growler ถูกเสนอเพื่อทดแทน Tornado เยอรมนี
ILA 2018: Eurofighter replacement for Tornado presented to Germany
With the Luftwaffe already fielding the Eurofighter Typhoon, the type is the Ministry of Defence's preferred solution for replacing the Panavia Tornado in national service. Source: IHS Markit/Patrick Allen
http://www.janes.com/article/79522/ila-2018-eurofighter-replacement-for-tornado-presented-to-germany
ILA 2018: Boeing pitches Growler to Germany
Already in service with the United States and Australia, the EA-18G Growler (pictured) offers a dedicated electronic attack capability that would suit a Tornado ECR replacement for Germany. Source: Boeing
http://www.janes.com/article/79562/ila-2018-boeing-pitches-growler-to-germany
บริษัท Airbus ยุโรปได้เสนอตนเองอย่างเป็นทางการในการเข้าแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ของกองทัพอากาศเยอรมนี(Luftwaffe) เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่ Panavia Tornado ด้วยการส่งเครื่องบินขับไล่ Eurofighter Typhoon ให้รัฐบาลเยอรมนีพิจารณา
ภายใต้การแข่งขันที่มีการเผยแพร่เมื่อวันที่ 24 เมษายนที่ผ่านมาในงานแสดงการบินนานาชาติ ILA 2018 ที่ Berlin ระหว่างวันที่ 25-29 เมษายนนี้
กลุ่มอุตสาหกรรมร่วม Eurofighter จะเสนอการส่งมอบเครื่องบินขับไล่ Typhoon ชุดใหม่เพิ่มเติมแก่กองทัพอากาศเยอรมนีในราวปี 2025 เป็นต้นไป โดยจะทำให้การเปลี่ยนผ่านเป็นไปอย่างไร้รอยต่อ ตามที่เครื่องบินขับไล่ Tornado มีแผนจะปลดประจำการในปี 2030
โดยปัจจุบันกองทัพอากาศเยอรมนีมีเครื่องบินขับไล่ Typhoon ประจำการ 130เครื่อง และเครื่องบินขับไล่ Tornado ประจำการ 90เครื่อง
"ตามที่ระบบอากาศยาน Eurofighter ได้ถูกใช้งานในเยอรมนีแล้ว ระบบนี้ควรจะนำมาใช้อย่างไร้รอยต่อในการรับช่วงขีดความสามาารถต่อจากเครื่องบิน Tornado
นอกจากนี้การเพิ่มจำนวนใช้งานของอากาศยานแบบเดียวกันจะมีผลต่อการพิจารณาการประหยัดจำนวนค่าใช้จ่ายในกรอบการสนับสนุนและการฝึก ซึ่งควรจะลดค่าใช้จ่ายการบินต่อชั่วโมงภายในกองทัพเยอรมนี(Bundeswehr) ลงได้" Airbus กล่าวในการแถลง
จากที่มีรายงานก่อนหน้านี้เครื่องบินขับไล่ Typhoon เป็นแนวทางเลือกในการทดแทนเครื่องบินขับไล่ Tornodo ที่เป็นที่ชื่นชอบแนะนำสำหรับกระทรวงกลาโหมเยอรมนี
โดยมีตัวเลือกรองอื่นๆประกอบด้วยเครื่องบินขับไล่ของสหรัฐคือ Lockheed Martin F-35A Lightning II Joint Strike Fighter(JSF), Boeing F-15 Advanced Eagle และ Boeing F/A-18E/F Super Hornet
อย่างไรก็ตาม ผู้บัญชาการกองทัพอากาศเยอรมนี พลอากาศโท Karl Müllner ผู้ที่สนับสนุนให้จัดหาเครื่องบินขับไล่ F-35A จะพ้นจากตำแหน่งในสิ้นเดือนพฤษภาคมนี้(http://aagth1.blogspot.com/2018/03/f-35.html)
การเกษียณก่อนกำหนดของผู้บัญชาการกองทัพอากาศเยอรมนีถูกตั้งข้อสังเกตว่า มีผลจากที่กระทรวงกลาโหมเยอรมนีสนับสนุนการจัดหาเครื่องบินขับไล่ Typhoon เพิ่มเติมมากกว่าจะจัดหา F-35(http://aagth1.blogspot.com/2017/12/typhoon-f-35.html)
บริษัท Boeing สหรัฐฯได้เสนอเครื่องบินโจมตีสงคราม Electronic แบบ EA-18G Growler ถูกเสนอต่อกองทัพอากาศเยอรมนีสำหรับทดแทนเครื่องบิน Tornado รุ่นสงคราม Electronic
โดยเป็นส่วนหนึ่งการเสนอเครื่องบินขับไล่ F/A-18E/F Super Hornet เข้าแข่งขันในโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ทดแทนเครื่องบินขับไล่ Tornado
ตามที่ Jane's ได้พูดคุยในงานแสดงการบิน ILA 2018 กับผู้อำนวยการฝ่ายขายนานาชาติด้านระบบโจมตี, ตรวจการณ์ และการขนส่งของ Boeing สหรัฐฯ Bryan Crutchfield กล่าวว่า
Boeing EA-18G Growler เป็นเพียงระบบเดียวที่มีที่จะทดแทนเครื่องบินลาดตระเวนโจมตี Electronic แบบ Tornado ECR(Electronic Combat Reconnaissance) ที่จะปลดประจำการในปี 2030 ช่วงเดียวกับรุ่นเครื่องบินขับไล่โจมตีทางลึก Tornado IDS(Interdiction Strike)
"ประเทศใดที่มีภารกิจสงคราม Electronic ในสภาพแวดล้อม A2AD(Anti-Access Area Denial การต่อต้านการปฏิเสธการห้ามเข้าพื้นที่) จำเป็นต้องมี Growler เรากำลังเป็นตัวเลือกที่กำลังรุกไปยังการแข่งขันในแนวทางนี้ต่อเยอรมนี"
Crutchfield กล่าวเสริมเมื่อวันที่ 25 เมษายน ในฐานะส่วนหนึ่งของการแข่งขัน Boeing ได้ตั้งส่วนจัดแสดงในงาน ILA 2018 พร้อมแบบจำลองย่อส่วนของอากาศยาน โดยมีการแสดงภาพนิ่งของ EA-18G Growler ของกองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy) 2เครื่อง
ตามที่กองทัพอากาศเยอรมนีต้องการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ในปี 2025 เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่โจมตีทางลึก Tornado IDS และเครื่องบินลาดตระเวนโจมตี Electronic Tornado ECR รวม 90เครื่องที่จะปลดประจำการในปี 2030
จากที่รัฐบาลเยอรมีมีความชื่นชอบในการจัดหาเครื่องบินขับไล่ Eurofighter Typhoon เพิ่มเติม แต่เครื่องบินขับไล่ F/A-18E/F Super Hornet ยังคงเป็นตัวเลือกทางเลือกเช่นเดียวกับ F-15 Advanced Eagle และ F-35A
ขณะที่ตัวเลือกเครื่องบินขับไล่ทุกแบบในข้างต้นทั้ง F-35A Lightning II, F-15 Advanced Eagle และ F/A-18E/F Super Hornet สามารถทดแทนภารกิจในส่วนของรุ่น Tornado IDS ได้
แต่มีเพียง Growler เท่านั้นจะทดแทนภารกิจในส่วนของรุ่น Tornado ECR ได้ทั้งสงคราม Electronic(EW: Electronic Warfare) และการกดดันระบบป้องกันภัยทางอากาศข้าศึก(SEAD: Suppression of Enemy Air Defences)
ขณะที่เครื่องบินขับไล่แบบอื่นจะตั้งมีการปรับแต่งสำหรับภารกิจนี้เพิ่มเติมด้วยการติดตั้งกระเปาะสงคราม Electronic เพิ่มเติมภายนอกเครื่อง
Crutchfield เน้นว่าการทำเช่นนี้นี้ไม่เพียงพอที่ทำให้เครื่องบินขับไล่เหล่านี้มีขีดความสามารถเท่าเทียมกับ Growler ที่ได้รับการบูรณาการและมีขีดความสามารถที่ออกแบบมาเพื่อภารกิจสงคราม Electronic โดยเฉพาะอยู่แล้วครับ
With the Luftwaffe already fielding the Eurofighter Typhoon, the type is the Ministry of Defence's preferred solution for replacing the Panavia Tornado in national service. Source: IHS Markit/Patrick Allen
http://www.janes.com/article/79522/ila-2018-eurofighter-replacement-for-tornado-presented-to-germany
ILA 2018: Boeing pitches Growler to Germany
Already in service with the United States and Australia, the EA-18G Growler (pictured) offers a dedicated electronic attack capability that would suit a Tornado ECR replacement for Germany. Source: Boeing
http://www.janes.com/article/79562/ila-2018-boeing-pitches-growler-to-germany
บริษัท Airbus ยุโรปได้เสนอตนเองอย่างเป็นทางการในการเข้าแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ของกองทัพอากาศเยอรมนี(Luftwaffe) เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่ Panavia Tornado ด้วยการส่งเครื่องบินขับไล่ Eurofighter Typhoon ให้รัฐบาลเยอรมนีพิจารณา
ภายใต้การแข่งขันที่มีการเผยแพร่เมื่อวันที่ 24 เมษายนที่ผ่านมาในงานแสดงการบินนานาชาติ ILA 2018 ที่ Berlin ระหว่างวันที่ 25-29 เมษายนนี้
กลุ่มอุตสาหกรรมร่วม Eurofighter จะเสนอการส่งมอบเครื่องบินขับไล่ Typhoon ชุดใหม่เพิ่มเติมแก่กองทัพอากาศเยอรมนีในราวปี 2025 เป็นต้นไป โดยจะทำให้การเปลี่ยนผ่านเป็นไปอย่างไร้รอยต่อ ตามที่เครื่องบินขับไล่ Tornado มีแผนจะปลดประจำการในปี 2030
โดยปัจจุบันกองทัพอากาศเยอรมนีมีเครื่องบินขับไล่ Typhoon ประจำการ 130เครื่อง และเครื่องบินขับไล่ Tornado ประจำการ 90เครื่อง
"ตามที่ระบบอากาศยาน Eurofighter ได้ถูกใช้งานในเยอรมนีแล้ว ระบบนี้ควรจะนำมาใช้อย่างไร้รอยต่อในการรับช่วงขีดความสามาารถต่อจากเครื่องบิน Tornado
นอกจากนี้การเพิ่มจำนวนใช้งานของอากาศยานแบบเดียวกันจะมีผลต่อการพิจารณาการประหยัดจำนวนค่าใช้จ่ายในกรอบการสนับสนุนและการฝึก ซึ่งควรจะลดค่าใช้จ่ายการบินต่อชั่วโมงภายในกองทัพเยอรมนี(Bundeswehr) ลงได้" Airbus กล่าวในการแถลง
จากที่มีรายงานก่อนหน้านี้เครื่องบินขับไล่ Typhoon เป็นแนวทางเลือกในการทดแทนเครื่องบินขับไล่ Tornodo ที่เป็นที่ชื่นชอบแนะนำสำหรับกระทรวงกลาโหมเยอรมนี
โดยมีตัวเลือกรองอื่นๆประกอบด้วยเครื่องบินขับไล่ของสหรัฐคือ Lockheed Martin F-35A Lightning II Joint Strike Fighter(JSF), Boeing F-15 Advanced Eagle และ Boeing F/A-18E/F Super Hornet
อย่างไรก็ตาม ผู้บัญชาการกองทัพอากาศเยอรมนี พลอากาศโท Karl Müllner ผู้ที่สนับสนุนให้จัดหาเครื่องบินขับไล่ F-35A จะพ้นจากตำแหน่งในสิ้นเดือนพฤษภาคมนี้(http://aagth1.blogspot.com/2018/03/f-35.html)
การเกษียณก่อนกำหนดของผู้บัญชาการกองทัพอากาศเยอรมนีถูกตั้งข้อสังเกตว่า มีผลจากที่กระทรวงกลาโหมเยอรมนีสนับสนุนการจัดหาเครื่องบินขับไล่ Typhoon เพิ่มเติมมากกว่าจะจัดหา F-35(http://aagth1.blogspot.com/2017/12/typhoon-f-35.html)
บริษัท Boeing สหรัฐฯได้เสนอเครื่องบินโจมตีสงคราม Electronic แบบ EA-18G Growler ถูกเสนอต่อกองทัพอากาศเยอรมนีสำหรับทดแทนเครื่องบิน Tornado รุ่นสงคราม Electronic
โดยเป็นส่วนหนึ่งการเสนอเครื่องบินขับไล่ F/A-18E/F Super Hornet เข้าแข่งขันในโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ทดแทนเครื่องบินขับไล่ Tornado
ตามที่ Jane's ได้พูดคุยในงานแสดงการบิน ILA 2018 กับผู้อำนวยการฝ่ายขายนานาชาติด้านระบบโจมตี, ตรวจการณ์ และการขนส่งของ Boeing สหรัฐฯ Bryan Crutchfield กล่าวว่า
Boeing EA-18G Growler เป็นเพียงระบบเดียวที่มีที่จะทดแทนเครื่องบินลาดตระเวนโจมตี Electronic แบบ Tornado ECR(Electronic Combat Reconnaissance) ที่จะปลดประจำการในปี 2030 ช่วงเดียวกับรุ่นเครื่องบินขับไล่โจมตีทางลึก Tornado IDS(Interdiction Strike)
"ประเทศใดที่มีภารกิจสงคราม Electronic ในสภาพแวดล้อม A2AD(Anti-Access Area Denial การต่อต้านการปฏิเสธการห้ามเข้าพื้นที่) จำเป็นต้องมี Growler เรากำลังเป็นตัวเลือกที่กำลังรุกไปยังการแข่งขันในแนวทางนี้ต่อเยอรมนี"
Crutchfield กล่าวเสริมเมื่อวันที่ 25 เมษายน ในฐานะส่วนหนึ่งของการแข่งขัน Boeing ได้ตั้งส่วนจัดแสดงในงาน ILA 2018 พร้อมแบบจำลองย่อส่วนของอากาศยาน โดยมีการแสดงภาพนิ่งของ EA-18G Growler ของกองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy) 2เครื่อง
ตามที่กองทัพอากาศเยอรมนีต้องการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ในปี 2025 เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่โจมตีทางลึก Tornado IDS และเครื่องบินลาดตระเวนโจมตี Electronic Tornado ECR รวม 90เครื่องที่จะปลดประจำการในปี 2030
จากที่รัฐบาลเยอรมีมีความชื่นชอบในการจัดหาเครื่องบินขับไล่ Eurofighter Typhoon เพิ่มเติม แต่เครื่องบินขับไล่ F/A-18E/F Super Hornet ยังคงเป็นตัวเลือกทางเลือกเช่นเดียวกับ F-15 Advanced Eagle และ F-35A
ขณะที่ตัวเลือกเครื่องบินขับไล่ทุกแบบในข้างต้นทั้ง F-35A Lightning II, F-15 Advanced Eagle และ F/A-18E/F Super Hornet สามารถทดแทนภารกิจในส่วนของรุ่น Tornado IDS ได้
แต่มีเพียง Growler เท่านั้นจะทดแทนภารกิจในส่วนของรุ่น Tornado ECR ได้ทั้งสงคราม Electronic(EW: Electronic Warfare) และการกดดันระบบป้องกันภัยทางอากาศข้าศึก(SEAD: Suppression of Enemy Air Defences)
ขณะที่เครื่องบินขับไล่แบบอื่นจะตั้งมีการปรับแต่งสำหรับภารกิจนี้เพิ่มเติมด้วยการติดตั้งกระเปาะสงคราม Electronic เพิ่มเติมภายนอกเครื่อง
Crutchfield เน้นว่าการทำเช่นนี้นี้ไม่เพียงพอที่ทำให้เครื่องบินขับไล่เหล่านี้มีขีดความสามารถเท่าเทียมกับ Growler ที่ได้รับการบูรณาการและมีขีดความสามารถที่ออกแบบมาเพื่อภารกิจสงคราม Electronic โดยเฉพาะอยู่แล้วครับ
จอร์แดนจะบริจาครถสายพานลำเลียง M113 และเฮลิคอปเตอร์โจมตี AH-1F ให้ฟิลิปปินส์
M113 APCs and AH-1F Cobras donated by Jordan to the Philippines
Jordanian M113 APCs (Picture source : Facebook/Jordanian army)
http://armyrecognition.com/april_2018_global_defense_security_army_news_industry/m113_apcs_and_ah-1f_cobras_donated_by_jordan_to_the_philippines.html
ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ Rodrigo Duterte ได้ประกาศว่าราชอาณาจักรจอร์แดนได้ทำการบริจาครถสายพานลำเลียง M113 APC(Armored Personnel Carrier) จำนวนหนึ่ง และเฮลิคอปเตอร์โจมตี Bell AH-1F Cobra 2เครื่อง ที่เคยประจำการในกองทัพจอร์แดนแก่รัฐบาลฟิลิปปินส์
โดยภายหลังระบบอาวุธดังกล่าวควรจะมีการจ่ายค่าซ่อมและคืนสภาพใหม่ให้เสร็จตามที่กองทัพจอร์แดนจะคิดค่าใช้จ่ายในการจัดส่ง รสพ.M113 ให้กองทัพฟิลิปปินส์
ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า รสพ.M113 ที่จอร์แดนจะบริจาคให้ฟิลิปปินส์จะมีรุ่นอะไรบ้างและมีจำนวนทั้งหมดกี่กัน แต่มีการกล่าวว่าอย่างน่าจะมีการบริจาค M113 มากกว่า 60คัน ที่เป็นไปได้ว่าจะรวมถึงรุ่นสำหรับภารกิจเฉพาะต่างๆที่อยู่ในตระกูล M113
รสพ.M113 เหล่านี้ถูกกล่าวว่าถูกเก็บรักษาไว้ในคลังโดยกองทัพบกจอร์แดน(Royal Jordanian Army) เนื่องจากจอร์แดนได้ได้รับมอบยานเกราะแบบใหม่ที่ทันสมัยกว่าจากต่างประเทศมาเข้าประจำการ
กองทัพบกจอร์แดนมีรถสายพานลำเลียง M113A2 ประจำการมากว่า 1,000คัน และส่วนหนึ่งได้มีการปรับปรุงเป็นรุ่น M113A2Mk-1J M113A2Mk-2J
โดยกองทัพบกจอร์แดนยังมี รถสายพานลำเลียง M113A1 และ รสพ.M113A2 ที่เก็บรักษาไว้ในคลังมากกว่า 100คัน
รวมถึงรถหุ้มเกราะสายพานแบบอื่นๆที่ใช้พื้นฐานรถแคร่ฐานของ M113 เช่น รถเกราะสายพานที่บังคับการ M577, ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานอัตตาจรสายพาน M163 VADS(Vulcan Air Defense System) 20mm,
รถเกราะสายพานติดอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง M901 ITV(Improved TOW Vehicle), เครื่องยิงลูกระเบิดอัตตาจรสายพาน M106 107mm และรถเกราะกู้ซ่อมสายพาน M806 ARV(Armored Recovery Vehicle) เป็นต้น
สำหรับความเป็นไปได้ที่จอร์แดนจะส่งมอบ ฮ.โจมตี AH-1F จำนวน 2เครื่องแก่ฟิลิปปินส์นั้นได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม 2017 โดยแรกเริ่มจอร์แดนได้เสนอที่จะบริจาค ฮ.โจมตี AH-1F Cobra มือสองจำนวน 4เครื่องแก่กองทัพอากาศฟิลิปปินส์(Philippine Air Force)
โดยเจ้าหน้าที่และช่างเทคนิคของกองทัพอากาศฟิลิปปินส์และกระทรวงกลาโหมฟิลิปปินส์ได้ประเมินค่าตรวจสอบ ฮ.ดังกล่าวที่จอร์แดนเมื่อเดือนมิถุนายน 2017 พบว่ามี ฮ.เพียง 2เครื่องเท่านั้นที่ใช้งานได้ แต่ฟิลิปปินส์ยังหวังที่จะได้รับ ฮ.AH-1F เป็น 4เครื่องจากข้อเสนอเดิมอยู่
ยังคงไม่มีความชัดเจนว่า ฮ.โจมตี AH-1F Cobra ของจอร์แดนที่เสนอให้ฟิลิปปินส์นั้นจะเป็นชุดเครื่องสร้างใหม่จากโรงงานที่เข้าประจำการในช่วงปลายปี 1980s หรือเป็นชุดเครื่องที่เคยประจำการในกองทัพบกสหรัฐฯ(US Army) มาก่อนซึ่งจอร์แดนได้รับมอบในปี 2001
ขณะที่จอร์แดนได้รับมอบเฮลิคอเตอร์โจมตี AH-1F Tzefa ที่เคยประจำการในกองทัพอากาศอิสราเอล(Israeli Air Force) เมื่อไม่กี่ปีก่อน ดังนั้นจึงน่าจะเป็นไปได้น้อยมากว่า ฮ.AH-1F ที่จอร์แดนจะบริจาคให้ฟิลิปปินส์ไม่น่าจะเป็นชุดเครื่องจากอิสราเอล
ฟิลิปปินส์ไม่ใช่ประเทศแรกที่จอร์แเดนทำการบริจาคเฮลิคอปเตอร์โจมตี Bell AH-1F ให้ โดยก่อนหน้านี้มีรายงานว่าเคนยาได้รับมอบ ฮ.โจมตี AH-1F จากจอร์แดนอย่างน้อย 1เครื่องหรือมากกว่าแล้ว
ทั้งนี้กองทัพอากาศฟิลิปปินส์ปัจจุบันไม่มีเฮลิคอปเตอร์โจมตีแท้ประจำการ นอกจากเฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนติดอาวุธ Boeing MD 520MG Defender สหรัฐฯ และ AgustaWestland AW109 อิตาลีครับ
Jordanian M113 APCs (Picture source : Facebook/Jordanian army)
http://armyrecognition.com/april_2018_global_defense_security_army_news_industry/m113_apcs_and_ah-1f_cobras_donated_by_jordan_to_the_philippines.html
ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ Rodrigo Duterte ได้ประกาศว่าราชอาณาจักรจอร์แดนได้ทำการบริจาครถสายพานลำเลียง M113 APC(Armored Personnel Carrier) จำนวนหนึ่ง และเฮลิคอปเตอร์โจมตี Bell AH-1F Cobra 2เครื่อง ที่เคยประจำการในกองทัพจอร์แดนแก่รัฐบาลฟิลิปปินส์
โดยภายหลังระบบอาวุธดังกล่าวควรจะมีการจ่ายค่าซ่อมและคืนสภาพใหม่ให้เสร็จตามที่กองทัพจอร์แดนจะคิดค่าใช้จ่ายในการจัดส่ง รสพ.M113 ให้กองทัพฟิลิปปินส์
ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า รสพ.M113 ที่จอร์แดนจะบริจาคให้ฟิลิปปินส์จะมีรุ่นอะไรบ้างและมีจำนวนทั้งหมดกี่กัน แต่มีการกล่าวว่าอย่างน่าจะมีการบริจาค M113 มากกว่า 60คัน ที่เป็นไปได้ว่าจะรวมถึงรุ่นสำหรับภารกิจเฉพาะต่างๆที่อยู่ในตระกูล M113
รสพ.M113 เหล่านี้ถูกกล่าวว่าถูกเก็บรักษาไว้ในคลังโดยกองทัพบกจอร์แดน(Royal Jordanian Army) เนื่องจากจอร์แดนได้ได้รับมอบยานเกราะแบบใหม่ที่ทันสมัยกว่าจากต่างประเทศมาเข้าประจำการ
กองทัพบกจอร์แดนมีรถสายพานลำเลียง M113A2 ประจำการมากว่า 1,000คัน และส่วนหนึ่งได้มีการปรับปรุงเป็นรุ่น M113A2Mk-1J M113A2Mk-2J
โดยกองทัพบกจอร์แดนยังมี รถสายพานลำเลียง M113A1 และ รสพ.M113A2 ที่เก็บรักษาไว้ในคลังมากกว่า 100คัน
รวมถึงรถหุ้มเกราะสายพานแบบอื่นๆที่ใช้พื้นฐานรถแคร่ฐานของ M113 เช่น รถเกราะสายพานที่บังคับการ M577, ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานอัตตาจรสายพาน M163 VADS(Vulcan Air Defense System) 20mm,
รถเกราะสายพานติดอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง M901 ITV(Improved TOW Vehicle), เครื่องยิงลูกระเบิดอัตตาจรสายพาน M106 107mm และรถเกราะกู้ซ่อมสายพาน M806 ARV(Armored Recovery Vehicle) เป็นต้น
สำหรับความเป็นไปได้ที่จอร์แดนจะส่งมอบ ฮ.โจมตี AH-1F จำนวน 2เครื่องแก่ฟิลิปปินส์นั้นได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม 2017 โดยแรกเริ่มจอร์แดนได้เสนอที่จะบริจาค ฮ.โจมตี AH-1F Cobra มือสองจำนวน 4เครื่องแก่กองทัพอากาศฟิลิปปินส์(Philippine Air Force)
โดยเจ้าหน้าที่และช่างเทคนิคของกองทัพอากาศฟิลิปปินส์และกระทรวงกลาโหมฟิลิปปินส์ได้ประเมินค่าตรวจสอบ ฮ.ดังกล่าวที่จอร์แดนเมื่อเดือนมิถุนายน 2017 พบว่ามี ฮ.เพียง 2เครื่องเท่านั้นที่ใช้งานได้ แต่ฟิลิปปินส์ยังหวังที่จะได้รับ ฮ.AH-1F เป็น 4เครื่องจากข้อเสนอเดิมอยู่
ยังคงไม่มีความชัดเจนว่า ฮ.โจมตี AH-1F Cobra ของจอร์แดนที่เสนอให้ฟิลิปปินส์นั้นจะเป็นชุดเครื่องสร้างใหม่จากโรงงานที่เข้าประจำการในช่วงปลายปี 1980s หรือเป็นชุดเครื่องที่เคยประจำการในกองทัพบกสหรัฐฯ(US Army) มาก่อนซึ่งจอร์แดนได้รับมอบในปี 2001
ขณะที่จอร์แดนได้รับมอบเฮลิคอเตอร์โจมตี AH-1F Tzefa ที่เคยประจำการในกองทัพอากาศอิสราเอล(Israeli Air Force) เมื่อไม่กี่ปีก่อน ดังนั้นจึงน่าจะเป็นไปได้น้อยมากว่า ฮ.AH-1F ที่จอร์แดนจะบริจาคให้ฟิลิปปินส์ไม่น่าจะเป็นชุดเครื่องจากอิสราเอล
ฟิลิปปินส์ไม่ใช่ประเทศแรกที่จอร์แเดนทำการบริจาคเฮลิคอปเตอร์โจมตี Bell AH-1F ให้ โดยก่อนหน้านี้มีรายงานว่าเคนยาได้รับมอบ ฮ.โจมตี AH-1F จากจอร์แดนอย่างน้อย 1เครื่องหรือมากกว่าแล้ว
ทั้งนี้กองทัพอากาศฟิลิปปินส์ปัจจุบันไม่มีเฮลิคอปเตอร์โจมตีแท้ประจำการ นอกจากเฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนติดอาวุธ Boeing MD 520MG Defender สหรัฐฯ และ AgustaWestland AW109 อิตาลีครับ
วันจันทร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2561
ญี่ปุ่นมองหลายเส้นทางสำหรับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ใหม่ทดแทน F-2
Tokyo eyes multiple routes for new fighter jet
Japan’s Acquisition, Technology, & Logistics Agency (ATLA) continues to weigh ideas for a futuristic fighter to replace the nation’s Mitsubishi F-2 aircraft.
https://www.flightglobal.com/news/articles/tokyo-eyes-multiple-routes-for-new-fighter-jet-447911/
Mitsubishi F-2B in flight(wikipedia.org)
สำนักงานการจัดซื้อจัดจ้าง, เทคโนโลยี และการส่งกำลังบำรุง(ATLA: Acquisition, Technology and Logistics Agency) กระทรวงกลาโหมญี่ปุ่นกำลังเดินหน้าชั่งน้ำหนักของแนวคิดต่างๆ
สำหรับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่แบบใหม่ในอนาคตของกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น(JASDF: Japan Air Self-Defense Force) เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่ Mitsubishi F-2
"เราได้ดำเนินการทำขั้นตอนเอกสารขอข้อมูล(RFI: Request for Information) อย่างต่อเนื่อง และคำถามของเราได้รับการเปลี่ยนแปลง" เจ้าหน้าที่ที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ใหม่ของญี่ปุ่นที่น่าจะถูกกำหนดแบบว่า F-3 กล่าว
เขายังได้ปฏิเสธที่จะให้ความเห็นต่อสำนักข่าว Reuters ที่ได้รายงานพิเศษอ้างถึงแหล่งข้อมูลนิรนามว่า บริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯต้องการที่จะเสนอเครื่องบินขับไล่แบบใหม่ที่ลูกผสมระหว่าง F-22 Raptor และ F-35 Lightning II สำหรับความต้องการของญี่ปุ่นในระยะยาว
Reuters ได้รายงานอ้างจากแหล่งข่าวรายหนึ่งว่าเครื่องขับไล่ลูกผสมแบบใหม่ที่ Lockheed Martin สหรัฐฯจะมีการพัฒนาขึ้นนั้นมี "ความเหนือกว่าต่อทั้งเครื่องบินขับไล่สองแบบ"(F-22 และ F-35)
อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นกล่าวว่ามีข้อเสนอหลายจำนวนที่กำลังถูกชั่งน้ำหนัก รวมถึงที่ญี่ปุ่นและสหราชอาณาจักรยังได้กำลังทำการศึกษาร่วมกันเพื่อมองไปยัง "โอกาสความเป็นไปได้สำหรับโครงการเครื่องบินขับไล่อนาคต"
ญี่ปุ่นได้สำรวจแนวทางสำหรับการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่อย่างจริงจังมานานหลายปี ทั้งแนวทางการพัฒนาเครื่องบินขับไล่แบบใหม่ทั้งหมดภายในประเทศ, ร่วมมือกับหุ้นส่วนต่างประเทศในการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ใหม่, จัดซื้อเครื่องบินขับไล่ใหม่หรือปรับปรุงเครื่องที่มีอยู่
การพัฒนาอากาศยานที่มีพื้นฐานจากเครื่องบินขับไล่สหรัฐฯไม่ใช่สิ่งที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่นที่เครื่องบินขับไล่ F-2 ญี่ปุ่นที่มีพื้นฐานขยายแบบจากเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-16 Fighting Falcon สหรัฐฯ
เครื่องบินขับไล่ F-2 ถูกออกแบบมาให้มีน้ำหนักบรรทุกที่มากขึ้นสำหรับภารกิจโจมตีโดยเฉพาะการติดอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ โดย F-2 มีพื้นที่ปีกที่ใหญ่กว่า F-16 ร้อยละ25 และมีการดัดแปลงในส่วนอื่นอย่างมากเช่นการใช้วัสดุผสม
แต่โชคร้ายที่ F-2 นั้นมีราคาที่แพงเกินไปซึ่งญี่ปุ่นได้สั่งจัดหาเพียง 94เครื่องจากแผนที่จะจัดหา 144เครื่อง แบบเครื่องที่มีคุณสมบัติผสมระหว่าง F-35 และ F-22 จึงควรจะมีประสิทธิภาพที่จะเป็นเครื่องบินขับไล่ใหม่ของญี่ปุ่น แม้ว่าจะมีความเป็นไปได้สูงมากสำหรับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น
เดิมนั้นกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่นมีความต้องการที่จะจัดหาเครื่องบินขับไล่ F-22 สหรัฐฯเพื่อแทดแทนเครื่องบินขับไล่ Mitsubishi F-15J ซึ่งญี่ปุ่นได้สิทธิบัตรการผลิตในประเทศจากบริษัท Boeing สหรัฐฯ(เดิม McDonnell Douglas) ที่เข้าประจำการมาตั้งแต่ปี 1980s
แต่ในปี 1998 สภา Congress สหรัฐฯได้มีมติห้ามการส่งออกและขายสิทธิบัตร F-22 แก่ต่างประเทศ การจัดหา F-22 รุ่นลดสมรรถนะสำหรับการส่งออกแก่ญี่ปุ่นยังคงดูมีการสรุปความเป็นไปได้ในปี 2006
แต่สหรัฐฯได้แสดงความกังวลต่อญี่ปุ่นเกี่ยวกับขีดความสามารถในการรักษาความลับของ Technology ตน จากกรณีที่ในปี 2002 มีการรั่วไหลของข้อมูลระบบอำนวยการรบ Aegis จากญี่ปุ่น
ซึ่งกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น(JMSDF: Japan Maritime Self Defense Force) ได้นำระบบอำนวยการรบ Aegis มาติดตั้งในเรือพิฆาตติดอาวุธปล่อยนำวิถีชั้น Kongo ที่เข้าประจำการมาตั้งแต่ปี 1990s เป็นชั้นแรก
ขณะที่บริษัท Mitsubishi Heavy Industries(MHI) ญี่ปุ่นได้รับสิทธิบัตรการผลิตเครื่องบินขับไล่ F-35A 38เครื่องจาก 42เครื่องที่โรงงานสายการประกอบและตรวจสอบขั้นสุดท้าย(FACO: Final Assembly and Check Out) ที่ Nagoya(http://aagth1.blogspot.com/2017/06/f-35a.html)
อย่างไรก็ตามยังไม่มีความชัดเจนว่าอีกนานแค่ไหนที่รัฐบาลสหรัฐฯจะอนุมัติการถ่ายทอด Technology ที่จำเป็นในการนำไปใช้ในการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ลูกผสมระหว่าง F-22 และ F-35 ร่วมกันกับญี่ปุ่น
ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นได้ยืนยันว่างานพัฒนาสำหรับเครื่องบินสาธิตทางเทคโนโลยี Mitsubishi X-2 Shinshin ได้เสร็จสิ้นลงแล้วหลังทำการบินมา 34เที่ยวบินจากแผนเดิมที่โครงการวางการทดสอบการบินไว้มากกว่า 50เที่ยวบิน
"เราได้เสร็จสิ้นการทดสอบตามที่เราวางแผนแล้ว ยังไม่มีการกำหนดเกี่ยวกับอนาคตของ X-2 เราอาจจะทำการทดสอบเพิ่มเติม" เขากล่าว
เครื่องบินต้นแบบสาธิต X-2 ซึ่งเดิมถูกเรียกว่าโครงการ ATD-X ยังคงอยู่ที่ฐานทัพอากาศ Gifu หลังจากทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน 2016(http://aagth1.blogspot.com/2016/04/mitsubishi-x-2-shinshin.html)
โครงการ X-2 เป็นส่วนหนึ่งของการตั้งต้นทางอุตสาหกรรมและสำรวจ Technology ที่จำเป็นของญี่ปุ่นสำหรับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ยุคที่5 หรือเครื่องบินขับไล่ยุคที่6 ที่มีคุณสมบัติตรวจจับได้ยาก(Stealth)
การพัฒนาเครื่องบินต้นแบบสาธิต X-2 ยังประกอบไปด้วยโครงการแยกย่อยอีก 15โครงการในการแสวงหา Technology เฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น ห้องเก็บอาวุธภายในตัวเครื่อง, ระบบตรวจจับ, Data Link, และอื่นที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ขั้นก้าวหน้า
โครงการ X-2 Shinshin ยังได้แสดงให้เห็นถึงแนวทางการส่งต่อองค์ความรู้จากวิศวกรอากาศยานอาวุโสไปสู่คนรุ่นใหม่ของญี่ปุ่นด้วยครับ
Japan’s Acquisition, Technology, & Logistics Agency (ATLA) continues to weigh ideas for a futuristic fighter to replace the nation’s Mitsubishi F-2 aircraft.
https://www.flightglobal.com/news/articles/tokyo-eyes-multiple-routes-for-new-fighter-jet-447911/
Mitsubishi F-2B in flight(wikipedia.org)
สำนักงานการจัดซื้อจัดจ้าง, เทคโนโลยี และการส่งกำลังบำรุง(ATLA: Acquisition, Technology and Logistics Agency) กระทรวงกลาโหมญี่ปุ่นกำลังเดินหน้าชั่งน้ำหนักของแนวคิดต่างๆ
สำหรับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่แบบใหม่ในอนาคตของกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น(JASDF: Japan Air Self-Defense Force) เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่ Mitsubishi F-2
"เราได้ดำเนินการทำขั้นตอนเอกสารขอข้อมูล(RFI: Request for Information) อย่างต่อเนื่อง และคำถามของเราได้รับการเปลี่ยนแปลง" เจ้าหน้าที่ที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ใหม่ของญี่ปุ่นที่น่าจะถูกกำหนดแบบว่า F-3 กล่าว
เขายังได้ปฏิเสธที่จะให้ความเห็นต่อสำนักข่าว Reuters ที่ได้รายงานพิเศษอ้างถึงแหล่งข้อมูลนิรนามว่า บริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯต้องการที่จะเสนอเครื่องบินขับไล่แบบใหม่ที่ลูกผสมระหว่าง F-22 Raptor และ F-35 Lightning II สำหรับความต้องการของญี่ปุ่นในระยะยาว
Reuters ได้รายงานอ้างจากแหล่งข่าวรายหนึ่งว่าเครื่องขับไล่ลูกผสมแบบใหม่ที่ Lockheed Martin สหรัฐฯจะมีการพัฒนาขึ้นนั้นมี "ความเหนือกว่าต่อทั้งเครื่องบินขับไล่สองแบบ"(F-22 และ F-35)
อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นกล่าวว่ามีข้อเสนอหลายจำนวนที่กำลังถูกชั่งน้ำหนัก รวมถึงที่ญี่ปุ่นและสหราชอาณาจักรยังได้กำลังทำการศึกษาร่วมกันเพื่อมองไปยัง "โอกาสความเป็นไปได้สำหรับโครงการเครื่องบินขับไล่อนาคต"
ญี่ปุ่นได้สำรวจแนวทางสำหรับการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่อย่างจริงจังมานานหลายปี ทั้งแนวทางการพัฒนาเครื่องบินขับไล่แบบใหม่ทั้งหมดภายในประเทศ, ร่วมมือกับหุ้นส่วนต่างประเทศในการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ใหม่, จัดซื้อเครื่องบินขับไล่ใหม่หรือปรับปรุงเครื่องที่มีอยู่
การพัฒนาอากาศยานที่มีพื้นฐานจากเครื่องบินขับไล่สหรัฐฯไม่ใช่สิ่งที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่นที่เครื่องบินขับไล่ F-2 ญี่ปุ่นที่มีพื้นฐานขยายแบบจากเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-16 Fighting Falcon สหรัฐฯ
เครื่องบินขับไล่ F-2 ถูกออกแบบมาให้มีน้ำหนักบรรทุกที่มากขึ้นสำหรับภารกิจโจมตีโดยเฉพาะการติดอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ โดย F-2 มีพื้นที่ปีกที่ใหญ่กว่า F-16 ร้อยละ25 และมีการดัดแปลงในส่วนอื่นอย่างมากเช่นการใช้วัสดุผสม
แต่โชคร้ายที่ F-2 นั้นมีราคาที่แพงเกินไปซึ่งญี่ปุ่นได้สั่งจัดหาเพียง 94เครื่องจากแผนที่จะจัดหา 144เครื่อง แบบเครื่องที่มีคุณสมบัติผสมระหว่าง F-35 และ F-22 จึงควรจะมีประสิทธิภาพที่จะเป็นเครื่องบินขับไล่ใหม่ของญี่ปุ่น แม้ว่าจะมีความเป็นไปได้สูงมากสำหรับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น
เดิมนั้นกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่นมีความต้องการที่จะจัดหาเครื่องบินขับไล่ F-22 สหรัฐฯเพื่อแทดแทนเครื่องบินขับไล่ Mitsubishi F-15J ซึ่งญี่ปุ่นได้สิทธิบัตรการผลิตในประเทศจากบริษัท Boeing สหรัฐฯ(เดิม McDonnell Douglas) ที่เข้าประจำการมาตั้งแต่ปี 1980s
แต่ในปี 1998 สภา Congress สหรัฐฯได้มีมติห้ามการส่งออกและขายสิทธิบัตร F-22 แก่ต่างประเทศ การจัดหา F-22 รุ่นลดสมรรถนะสำหรับการส่งออกแก่ญี่ปุ่นยังคงดูมีการสรุปความเป็นไปได้ในปี 2006
แต่สหรัฐฯได้แสดงความกังวลต่อญี่ปุ่นเกี่ยวกับขีดความสามารถในการรักษาความลับของ Technology ตน จากกรณีที่ในปี 2002 มีการรั่วไหลของข้อมูลระบบอำนวยการรบ Aegis จากญี่ปุ่น
ซึ่งกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น(JMSDF: Japan Maritime Self Defense Force) ได้นำระบบอำนวยการรบ Aegis มาติดตั้งในเรือพิฆาตติดอาวุธปล่อยนำวิถีชั้น Kongo ที่เข้าประจำการมาตั้งแต่ปี 1990s เป็นชั้นแรก
ขณะที่บริษัท Mitsubishi Heavy Industries(MHI) ญี่ปุ่นได้รับสิทธิบัตรการผลิตเครื่องบินขับไล่ F-35A 38เครื่องจาก 42เครื่องที่โรงงานสายการประกอบและตรวจสอบขั้นสุดท้าย(FACO: Final Assembly and Check Out) ที่ Nagoya(http://aagth1.blogspot.com/2017/06/f-35a.html)
อย่างไรก็ตามยังไม่มีความชัดเจนว่าอีกนานแค่ไหนที่รัฐบาลสหรัฐฯจะอนุมัติการถ่ายทอด Technology ที่จำเป็นในการนำไปใช้ในการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ลูกผสมระหว่าง F-22 และ F-35 ร่วมกันกับญี่ปุ่น
ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่ญี่ปุ่นได้ยืนยันว่างานพัฒนาสำหรับเครื่องบินสาธิตทางเทคโนโลยี Mitsubishi X-2 Shinshin ได้เสร็จสิ้นลงแล้วหลังทำการบินมา 34เที่ยวบินจากแผนเดิมที่โครงการวางการทดสอบการบินไว้มากกว่า 50เที่ยวบิน
"เราได้เสร็จสิ้นการทดสอบตามที่เราวางแผนแล้ว ยังไม่มีการกำหนดเกี่ยวกับอนาคตของ X-2 เราอาจจะทำการทดสอบเพิ่มเติม" เขากล่าว
เครื่องบินต้นแบบสาธิต X-2 ซึ่งเดิมถูกเรียกว่าโครงการ ATD-X ยังคงอยู่ที่ฐานทัพอากาศ Gifu หลังจากทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน 2016(http://aagth1.blogspot.com/2016/04/mitsubishi-x-2-shinshin.html)
โครงการ X-2 เป็นส่วนหนึ่งของการตั้งต้นทางอุตสาหกรรมและสำรวจ Technology ที่จำเป็นของญี่ปุ่นสำหรับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ยุคที่5 หรือเครื่องบินขับไล่ยุคที่6 ที่มีคุณสมบัติตรวจจับได้ยาก(Stealth)
การพัฒนาเครื่องบินต้นแบบสาธิต X-2 ยังประกอบไปด้วยโครงการแยกย่อยอีก 15โครงการในการแสวงหา Technology เฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น ห้องเก็บอาวุธภายในตัวเครื่อง, ระบบตรวจจับ, Data Link, และอื่นที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ขั้นก้าวหน้า
โครงการ X-2 Shinshin ยังได้แสดงให้เห็นถึงแนวทางการส่งต่อองค์ความรู้จากวิศวกรอากาศยานอาวุโสไปสู่คนรุ่นใหม่ของญี่ปุ่นด้วยครับ
วันอาทิตย์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2561
สหรัฐอนุมัติการขายเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Sikorsky MH-60R Seahawk ให้เม็กซิโก
State Department clears $1.2 billion sale of Sikorsky MH-60R Seahawks to Mexico
The US State Department cleared the possible sale of eight Sikorsky MH-60R Seahawk helicopters to Mexico for $1.2 billion on 19 April.
https://www.flightglobal.com/news/articles/state-department-clears-12-billion-sale-of-sikorsk-447894/
Royal Australian Navy's MH-60R Seahawk
กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯได้อนุมัติความเป็นไปได้ในการขายเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเลแบบ Sikorsky MH-60R Seahawk จำนวน 8เครื่องวงเงิน $1.2 billion แก่แม็กซิโก
ตามที่เอกสารของสำนักงานความร่วมมือด้านความปลอดภัยความมั่นคงสหรัฐฯ(DSCA: Defense Security Cooperation Agency) ประกาศเมื่อวันที่ 19 เมษายนที่ผ่านมา
ความเป็นไปได้ในการอนุมัติการจัดหายังประกอบไปด้วยเครื่องยนต์ Turboshaft แบบ General Electric T700-GE-701 สองเครื่องที่ติดตั้งใน MH-60R แต่ละเครื่องและเครื่องยนต์อะไหล่, ชุดวิทยุสื่อสาร, ระบบนำร่อง
อุปกรณ์เฉพาะสำหรับภารกิจเช่น กล้องมองกลางคืน AN/AVS-9 night-vision goggles 30ชุด, ทุ่น Sonar ลอยน้ำ Sonobuoy แบบ AN/SSQ-36, AN/SSQ-53 และ AN/SSQ-62 รวม 1,000ทุ่น
ระบบอาวุธประกอบด้วยเช่น อาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้น AGM-114 Hellfire 10นัด, จรวดนำวิถี Laser ขนาด 2.75"(70mm) แบบ APKWS II(Advanced Precision Kill Weapons System) 38นัด,
Torpedo เบาต่อต้านเรือดำน้ำขนาด 324mm แบบ Mk 54 จำนวน 30นัด, ปืนกลอากาศเอนกประสงค์ M240D ขนาด 7.62x51mm และปืนกลหนักอากาศ GAU-21 ขนาด .50cal(12.7x99mm) เป็นต้น
"เม็กซิโกได้เป็นหุ้นส่วนที่แข็งแกร่งในการรบต่อต้านองค์กรอาชญากรรมและการค้ายาเสพติด การขาย ฮ.MH-60R เหล่านี้แก่เม็กซิโกจะมีความสำคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มขีดความสามารถและความแข็งแกร่งทางทะเลของแม็กซิโก
MH-60R เป็นเฮลิคอปเตอร์พหุภารกิจที่จะสามารถทำให้เม็กซิโกจะปฏิบัติการภารกิจต่อต้านเรือผิวน้ำและต่อต้านเรือดำน้ำ และภารกิจรองอื่นๆรวมถึง การส่งกำลังบำรุงเรือทางดิ่ง, การค้นหาและกู้ภัย และการทวนสัญญาณสื่อสาร" เอกสารของ DSCA กล่าว
Sikorsky MH-60R Seahawk เป็นเฮลิคอปเตอร์รุ่นใช้งานทางทะเลของกองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy) ในตระกูลเฮลิคอปเตอร์ Sikorsky S-70 เช่นเดียวกับเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Sikorsky UH-60 Black Hawk ของกองทัพบกสหรัฐฯ(US Army)
โดยนอกจากกองทัพเรือสหรัฐฯซึ่งเป็นผู้ใช้งานหลักแล้ว บริษัท Sikorsky สหรัฐฯ(ในเครือ Lockheed Martin) ยังสามารถส่งออก ฮ.MH-60R แก่ต่างประเทศได้หลายประเทศ เช่น กองทัพเรือออสเตรเลีย(RAN: Royal Australian Navy) และกองทัพเรือเดนมาร์ก(Royal Danish Navy)
ปัจจุบันกองทัพเม็กซิโกกำลังอยู่ในระหว่างการปรับปรุงความทันสมัยของกองทัพ ซึ่งร่วมถึงในส่วนการพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพเรือเม็กซิโก(Mexican Navy)
โดยกองทัพเรือเม็กซิโกมีเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป UH-60M Black Hawk ใช้งานอยู่ราว 26เครื่อง เช่นเดียวกับเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Eurocopter(ปัจจุบัน Airbus Helicopters) AS565MB Panther ที่มี 6เครื่องครับ
The US State Department cleared the possible sale of eight Sikorsky MH-60R Seahawk helicopters to Mexico for $1.2 billion on 19 April.
https://www.flightglobal.com/news/articles/state-department-clears-12-billion-sale-of-sikorsk-447894/
Royal Australian Navy's MH-60R Seahawk
กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯได้อนุมัติความเป็นไปได้ในการขายเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเลแบบ Sikorsky MH-60R Seahawk จำนวน 8เครื่องวงเงิน $1.2 billion แก่แม็กซิโก
ตามที่เอกสารของสำนักงานความร่วมมือด้านความปลอดภัยความมั่นคงสหรัฐฯ(DSCA: Defense Security Cooperation Agency) ประกาศเมื่อวันที่ 19 เมษายนที่ผ่านมา
ความเป็นไปได้ในการอนุมัติการจัดหายังประกอบไปด้วยเครื่องยนต์ Turboshaft แบบ General Electric T700-GE-701 สองเครื่องที่ติดตั้งใน MH-60R แต่ละเครื่องและเครื่องยนต์อะไหล่, ชุดวิทยุสื่อสาร, ระบบนำร่อง
อุปกรณ์เฉพาะสำหรับภารกิจเช่น กล้องมองกลางคืน AN/AVS-9 night-vision goggles 30ชุด, ทุ่น Sonar ลอยน้ำ Sonobuoy แบบ AN/SSQ-36, AN/SSQ-53 และ AN/SSQ-62 รวม 1,000ทุ่น
ระบบอาวุธประกอบด้วยเช่น อาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่พื้น AGM-114 Hellfire 10นัด, จรวดนำวิถี Laser ขนาด 2.75"(70mm) แบบ APKWS II(Advanced Precision Kill Weapons System) 38นัด,
Torpedo เบาต่อต้านเรือดำน้ำขนาด 324mm แบบ Mk 54 จำนวน 30นัด, ปืนกลอากาศเอนกประสงค์ M240D ขนาด 7.62x51mm และปืนกลหนักอากาศ GAU-21 ขนาด .50cal(12.7x99mm) เป็นต้น
"เม็กซิโกได้เป็นหุ้นส่วนที่แข็งแกร่งในการรบต่อต้านองค์กรอาชญากรรมและการค้ายาเสพติด การขาย ฮ.MH-60R เหล่านี้แก่เม็กซิโกจะมีความสำคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มขีดความสามารถและความแข็งแกร่งทางทะเลของแม็กซิโก
MH-60R เป็นเฮลิคอปเตอร์พหุภารกิจที่จะสามารถทำให้เม็กซิโกจะปฏิบัติการภารกิจต่อต้านเรือผิวน้ำและต่อต้านเรือดำน้ำ และภารกิจรองอื่นๆรวมถึง การส่งกำลังบำรุงเรือทางดิ่ง, การค้นหาและกู้ภัย และการทวนสัญญาณสื่อสาร" เอกสารของ DSCA กล่าว
Sikorsky MH-60R Seahawk เป็นเฮลิคอปเตอร์รุ่นใช้งานทางทะเลของกองทัพเรือสหรัฐฯ(US Navy) ในตระกูลเฮลิคอปเตอร์ Sikorsky S-70 เช่นเดียวกับเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป Sikorsky UH-60 Black Hawk ของกองทัพบกสหรัฐฯ(US Army)
โดยนอกจากกองทัพเรือสหรัฐฯซึ่งเป็นผู้ใช้งานหลักแล้ว บริษัท Sikorsky สหรัฐฯ(ในเครือ Lockheed Martin) ยังสามารถส่งออก ฮ.MH-60R แก่ต่างประเทศได้หลายประเทศ เช่น กองทัพเรือออสเตรเลีย(RAN: Royal Australian Navy) และกองทัพเรือเดนมาร์ก(Royal Danish Navy)
ปัจจุบันกองทัพเม็กซิโกกำลังอยู่ในระหว่างการปรับปรุงความทันสมัยของกองทัพ ซึ่งร่วมถึงในส่วนการพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพเรือเม็กซิโก(Mexican Navy)
โดยกองทัพเรือเม็กซิโกมีเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป UH-60M Black Hawk ใช้งานอยู่ราว 26เครื่อง เช่นเดียวกับเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Eurocopter(ปัจจุบัน Airbus Helicopters) AS565MB Panther ที่มี 6เครื่องครับ
วันเสาร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2561
อินเดียถอนตัวจากโครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ FGFA ร่วมกับรัสเซีย
A Russian Sukhoi Su-57 multirole fighter during an aerial display at the Forsazh aviation festival in December 2017. India's participation in the FGFA project, which was based on the Su-57, has gone belly up. (Sergei Bobylev\TASS)
http://www.janes.com/article/79457/india-withdraws-from-fgfa-project-leaving-russia-to-go-it-alone
กองทัพอากาศอินเดีย(Indian Air Force) ได้ถอนตัวจากโครงการความร่วมมือการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ยุคที่5 FGFA(Fifth Generation Fighter Aircraft) ที่มีมานาน 11ปี กับรัสเซีย
จากปัญหาที่มีมายาวนานในเรื่องค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและขีดความสามารถทาง Technology ซึ่งการตัดสินใจนี้ได้สร้างความรอยแตกร้าวระหว่างทั้งกองทัพอากาศอินเดียและภาคอุตสาหกรรมอากาศยานรัสเซีย
เจ้าหน้าที่ระดับสูงของอินเดียที่รวมถึง ที่ปรึกษาความมั่นคงแห่งชาติ Ajit Doval และเลขานุการกลาโหม Sanjay Mitra เมื่อเร็วๆนี้ได้แจ้งการเยือนต่อตัวแทนทางการทูตของอินเดียว่า
อินเดียได้ตัดสินใจถอนตัวจากโครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ FGFA ตามที่แหล่งข่าวทางการกล่าวกับ Jane's เมื่อ 20 เมษายนที่ผ่านมา
เจ้าหน้าที่อินเดียที่เชื่อถือได้แจ้งว่ากองทัพอากาศอินเดียควรจะ 'กลับเข้ามา' ในโครงการ FGFA ภายหลัง หรือเลือกแนวทางในการจัดหาระบบอากาศยานที่ได้รับพัฒนาอย่างเต็มรูปแบบอีกครั้ง
ซึ่งกองทัพอากาศรัสเซีย(VKS: Russian Aerospace Force) ได้นำระบบอากาศยานที่ได้รับการพัฒนาแล้วเพื่อเข้าประจำการในกองทัพตน แต่มันไม่มีความซับซ้อน
เจ้าหน้าที่ในภาคอุตสาหกรรมกล่าวว่า โครงการเครื่องบินขับไล่ FGFA ซึ่งมี Hindustan Aeronautics Limited(HAL) ภาคอุตสาหกรรมการผลิตอากาศยานของอินเดีย เป็นหน่วยงานนำในการพัฒนาโครงการ
ยังคงไม่ได้มีส่วนร่วมในการเจรจาระหว่างการเยือนนครหลวง Moscow ของรัฐมนตรีกลาโหมอินเดีย นาง Nirmala Sitharaman เมื่อต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมา
"โครงการ FGFA ได้กลายเป็นกรณีตัวอย่างของสิ่งที่น้อยเกินไป ช้าเกินไป" นักวิเคราะห์ทางทหารและอดีตทหารอากาศที่เกษียณแล้ว พลอากาศเอก V K Bhatia กล่าว
การไล่ติดตามโครงการเพื่อที่จะนำมันเข้าประจำการในกองทัพอากาศอินเดียไม่ควรจะมีอีกต่อไป ตามที่มีความต้องการในการจัดหาเครื่องบินขับไล่ใหม่ทดแทนส่วนที่กำลังจะหมดสภาพการใช้งานอย่างรวดเร็ว เขาเสริม
กองทัพอากาศอินเดียเชื่อว่าเครื่องบินขับไล่ Sukhoi Su-57(T-50 PAK-FA) รัสเซีย ซึ่งกระทรวงกลาโหมอินเดียกำหนดแบบเป็นโครงการเครื่องบินขับไล่พหุภารกิจ Perspective Multi-Role Fighter นั้น
เป็นต้นแบบพื้นฐานที่ไม่ตรงตามความต้องการทั้ง คุณสมบัติการตรวจจับได้ยาก(Stealth), Avionic การรบ, Radar และระบบตรวจจับ
ทั้งนี้มีรายงานว่าเครื่องบินขับไล่ Sukhoi Su-57 เครื่องต้นแบบจำนวน 10เครื่องกำลังดำเนินการบินทดสอบในรัสเซีย แต่สำหรับขณะนี้ยังไม่มีข้อบ่งชี้ใดๆว่าเมื่อไรที่เครื่องจะได้เข้าสู่สายการผลิตจำนวนมากจริง
โดยสำหรับกองทัพอากาศรัสเซียคาดว่าจะนำเครื่องบินขับไล่ Su-57 เข้าประจำการภายในปี 2019 และจะมีการเปิดตัวแสดงการบินในงานสวนสนามวันชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่สองที่ Moscow ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2018 ครับ
มาเลเซียเปิดตัวเครื่องยิงลูกระเบิดอัตตาจรล้อยาง Buraq 4x4
KSSB new Buraq 4x4 Mortar Carrier Vehicle at DSA 2018
The Alakran mortar system fitted on a 4x4 vehicle platform
https://armyrecognition.com/dsa_2018_news_official_show_daily/kembara_suci_unveiling_the_buraq_4x4_high_mobility_vehicle_mortar_carrier_system_variant.html
Kembara Suci(KSSB) มาเลเซียได้เปิดตัวระบบเครื่องยิงลูกระเบิดอัตตาจรล้อยางแบบ Buraq 4x4 ขนาดน้ำหนัก 9tons ต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรก
ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Defence Services Asia 2018(DSA 2018) ที่ Kuala Lumpur มาเลเซีย ระหว่างวันที่ 16-19 เมษายนที่ผ่านมา
Buraq 4x4 เป็น "ระบบเครื่องยิงลูกระเบิดอัตตาจรที่มีขนาดเบาที่สุดในโลก" ตามข้อมูลจาก KSSB มาเลเซีย ระบบเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 120mm ได้มอบขีดความสามารถในการยิงสนับสนุนสำหรับหน่วยเคลื่อนที่เร็ว
โดยระบบได้รับการพัฒนาให้หลีกเลี่ยงผลกระทบจากแรงถอยขณะทำการยิง เป็นการแก้ปัญหาการปฏิบัติการที่เกิดกับระบบ ค.อัตตาจรในปัจจุบันที่มีขนาดใหญ่มาก จำเป็นต้องเสริมความแข็งแรงให้และต้องใช้รถแคร่ฐานขนาดใหญ่ ลำกล้องร้อนเกินไปได้ง่าย และมีขีดความสามารถการยิงที่จำกัด
ระบบเครื่องยิงลูกระเบิดขนาดเบา Alakran ที่พัฒนาโดยบริษัท New Technologies Global Systems(NTGS) ในเครือ EVERIS GROUP สเปน ถูกออกแบบให้ติดตั้งบนรถแคร่ฐานได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ระบบรับแรงถอยเพิ่มเติม
ทั้งยังง่ายต่อการใช้งานขณะที่ยังคงรักษาลำกล้องเครื่องลูกระเบิดดั้งเดิมสำหรับ ค.81mm หรือ ค.120mm ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เช่นระบบเล็งยิงไฟฟ้าเชิงกลที่ทำให้ปฏิบัติการยิงได้ด้วยความรวดเร็วและมีความแม่นยำสูง
ชุดคำสั่งของระบบ Alakran มีความเข้ากันได้กับเทคโนโลยี GIS และมีคุณสมบัติใหม่เช่น การยิงแบบ Zonal และระบบยิงกระทบพร้อมกันหลายนัด(Multiple Rounds Simultaneous Impact System) ซึ่งง่ายต่อการใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการยิง
ค.อัตตาจร Alakran ที่มีน้ำหนักระบบ 1.1tons นี้มีความสามารถในการส่งทางอากาศเต็มรูปแบบ โดยสามารถติดตั้งบนรถยนต์บรรทุกเบาขนาด 1.5tons ได้ทุกแบบโดยไม่จำเป็นต้องมีการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างรถเพิ่มเติม
ค.อัตตาจรล้อยาง Buraq 4x4 สามารถบรรทุกกระสุนเครื่องยิงลูกระเบิดได้ 40นัด และสามารถทำอัตราการยิงได้ถึง 4นัดต่อนาทีในการยิงสนับสนุนได้ถึงระยะยิงไกลสุด 8,200m สำหรับกระสุนระเบิดแรงสูง(HE: High Explosive)เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 120mm
ระบบมีความพร้อมในการการปฏิบัติการยิงได้ภายในเวลาน้อยกว่า 30วินาที ด้วยระบบข้อมูลภูมิศาสตร์ รวมกับระบบควบคุมการยิงและเครื่องคำนวนขีปนวิถี โดยตัวเครื่องยิงจะวางตั้งฐานยิงบนพื้นดินภายนอกตัวรถเพื่อเลี่ยงแรงถอยขณะยิงครับ
วันศุกร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2561
มาเลเซียจัดหาอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM นอร์เวย์สำหรับเรือฟริเกต LCS Gowind
DSA 2018: Kongsberg to supply NSM for RMN’s Littoral Combat Ships
Kongsberg Defence & Aerospace will supply an undisclosed number of its NSM anti-ship missiles for the six LCSs currently being built for the RMN. Source: Kongsberg Defence & Aerospace
http://www.janes.com/article/79385/dsa-2018-kongsberg-to-supply-nsm-for-rmn-s-littoral-combat-ships
DSA 2018: Malaysia confirms NSM choice with missile order
http://www.janes.com/article/79388/dsa-2018-malaysia-confirms-nsm-choice-with-missile-order
บริษัท Kongsberg Defence & Aerospace นอร์เวย์ได้รับการลงนามสัญญาจัดหาอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM(Naval Strike Missile) ไม่ระบุจำนวนวงเงิน 125million Euro($155 million)
สำหรับติดตั้งกับเรือฟริเกต LCS(Littoral Combat Ship) คือเรือฟริเกตชั้น Maharaja Lela ทั้ง 6ลำของกองทัพเรือมาเลเซีย(RMN: Royal Malaysian Navy, TLDM: Tentera Laut DiRaja Malaysia)
สัญญาดังกล่าวได้รับการลงนามในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Defence Services Asia 2018(DSA 2018) ที่ Kuala Lumpur มาเลเซีย ระหว่างวันที่ 16-19 เมษายนที่ผ่านมา ตามที่ข้อตกลงที่ประกาศเมื่อ 9 เมษายน 2015
บริษัท Kongsberg นอร์เวย์จะติดตั้งอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำพิสัยกลาง NSM บนดาดฟ้าเรือ LCS และจะบูรณาการทำงานเข้ากับระบบอำนวยการรบ(CMS: Combat Management System) SETIS ของบริษัท Naval Group ฝรั่งเศส
"สัญญาจะส่งมอบแก่กองทัพเรือมาเลเซียด้วยขีดความสามาถอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่พื้นที่สำคัญ และยืนยันตำแหน่งที่แข็งแกร่งของ NSM ในตลาดระดับนานาชาติ" ข้อความของ Eirik Lie ประธาน Kongsberg ถูกกล่าวในการแถลง
โดยไม่มีการเปิดเผยเกี่ยวกับรายละเอียดการส่งมอบ เจ้าหน้าที่ของ Kongsberg กล่าวกับ Jane's ว่าการนำ NSM เข้าประจำการกองทัพเรือมาเลเซียจะเป็น "กองทัพเรือแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำยุคที่5 ประจำการ"
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM มีพิสัยการยิงใกล้สุด 1.5nmi(3km) พิสัยการยิงไกลสุดเกิน 108nmi(200km) ตามข้อมูลจาก Jane’s Weapons: Naval พิสัยการยิงสามารถขยายได้ถึง 135nmi(250km) จากการปรับแต่งเล็กน้อยและการเปลี่ยนรูปแบบการบินที่ต่างออกไป
NMS ติดตั้งหัวรบระเบิดเจาะเกราะ TDW IM-compliant titanium-cased และควบคุมการแตกสะเก็ด ขนาดหนัก 120kg
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM เข้าประจำการในกองทัพเรือนอร์เวย์(RNoN: Royal Norwegian Navy) เมื่อเดือนตุลาคม 2012 โดยดั้งเดิม NSM ถูกพัฒนาโดย Kongsberg เพื่อให้ตรงตามความต้องการของกองทัพเรือนอร์เวย์
สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่พื้นที่จำแนกเป้าหมายได้สูง ถูกตรวจจับได้ต่ำ ที่สามารถเจาะทะลวงระบบป้องกันเรือได้และมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติทั้งพื้นที่น่านน้ำใกล้ฝั่งและทะเลลึก
อู่เรือบริษัท Boustead Heavy Industries Corporation Berhad(BHIC) ที่ตั้งใน Lumut รัฐ Perak มาเลเซีย เป็นยืนสัญญาว่าจ้างแก่บริษัท Kongsberg นอร์เวย์ สำหรับการติดตั้ง NSM แก่เรือฟริเกต LCS
โดยอู่เรือ Boustead Naval Shipyard(BNS) มาเลเซียได้รับสัญญาวงเงิน 9 billion Malaysian Ringgit($ 2.1 billion) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2014 สำหรับโครงการสร้างเรือฟริเกต LCS จำนวน 6ลำแก่กองทัพเรือมาเลเซีย
เรือฟริเกตชั้น Maharaja Lela หรือโครงการ LCS มีพื้นฐานจากแบบเรือคอร์เวต Gowind 2500 ของ Naval Group ฝรั่งเศส(DCNS เดิม) โดยมีระวางขับน้ำประมาณ 3,000tons เรือลำแรกของชั้นคือ KD Maharaja Lela ถูกปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2017
เรือฟริเกต LCS ที่จะมีตามมาอีก 5ลำในอนาคตคือ KD Sharif Mashor, KD Raja Mahadi, KD Mat Salleh, KD Tok Janggut และ KD Mat Kilau ครับ(http://aagth1.blogspot.com/2017/08/lcs-gowind-kd-maharaja-lela.html)
Kongsberg Defence & Aerospace will supply an undisclosed number of its NSM anti-ship missiles for the six LCSs currently being built for the RMN. Source: Kongsberg Defence & Aerospace
http://www.janes.com/article/79385/dsa-2018-kongsberg-to-supply-nsm-for-rmn-s-littoral-combat-ships
DSA 2018: Malaysia confirms NSM choice with missile order
http://www.janes.com/article/79388/dsa-2018-malaysia-confirms-nsm-choice-with-missile-order
บริษัท Kongsberg Defence & Aerospace นอร์เวย์ได้รับการลงนามสัญญาจัดหาอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM(Naval Strike Missile) ไม่ระบุจำนวนวงเงิน 125million Euro($155 million)
สำหรับติดตั้งกับเรือฟริเกต LCS(Littoral Combat Ship) คือเรือฟริเกตชั้น Maharaja Lela ทั้ง 6ลำของกองทัพเรือมาเลเซีย(RMN: Royal Malaysian Navy, TLDM: Tentera Laut DiRaja Malaysia)
สัญญาดังกล่าวได้รับการลงนามในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Defence Services Asia 2018(DSA 2018) ที่ Kuala Lumpur มาเลเซีย ระหว่างวันที่ 16-19 เมษายนที่ผ่านมา ตามที่ข้อตกลงที่ประกาศเมื่อ 9 เมษายน 2015
บริษัท Kongsberg นอร์เวย์จะติดตั้งอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำพิสัยกลาง NSM บนดาดฟ้าเรือ LCS และจะบูรณาการทำงานเข้ากับระบบอำนวยการรบ(CMS: Combat Management System) SETIS ของบริษัท Naval Group ฝรั่งเศส
"สัญญาจะส่งมอบแก่กองทัพเรือมาเลเซียด้วยขีดความสามาถอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่พื้นที่สำคัญ และยืนยันตำแหน่งที่แข็งแกร่งของ NSM ในตลาดระดับนานาชาติ" ข้อความของ Eirik Lie ประธาน Kongsberg ถูกกล่าวในการแถลง
โดยไม่มีการเปิดเผยเกี่ยวกับรายละเอียดการส่งมอบ เจ้าหน้าที่ของ Kongsberg กล่าวกับ Jane's ว่าการนำ NSM เข้าประจำการกองทัพเรือมาเลเซียจะเป็น "กองทัพเรือแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำยุคที่5 ประจำการ"
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM มีพิสัยการยิงใกล้สุด 1.5nmi(3km) พิสัยการยิงไกลสุดเกิน 108nmi(200km) ตามข้อมูลจาก Jane’s Weapons: Naval พิสัยการยิงสามารถขยายได้ถึง 135nmi(250km) จากการปรับแต่งเล็กน้อยและการเปลี่ยนรูปแบบการบินที่ต่างออกไป
NMS ติดตั้งหัวรบระเบิดเจาะเกราะ TDW IM-compliant titanium-cased และควบคุมการแตกสะเก็ด ขนาดหนัก 120kg
อาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ NSM เข้าประจำการในกองทัพเรือนอร์เวย์(RNoN: Royal Norwegian Navy) เมื่อเดือนตุลาคม 2012 โดยดั้งเดิม NSM ถูกพัฒนาโดย Kongsberg เพื่อให้ตรงตามความต้องการของกองทัพเรือนอร์เวย์
สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่พื้นที่จำแนกเป้าหมายได้สูง ถูกตรวจจับได้ต่ำ ที่สามารถเจาะทะลวงระบบป้องกันเรือได้และมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติทั้งพื้นที่น่านน้ำใกล้ฝั่งและทะเลลึก
อู่เรือบริษัท Boustead Heavy Industries Corporation Berhad(BHIC) ที่ตั้งใน Lumut รัฐ Perak มาเลเซีย เป็นยืนสัญญาว่าจ้างแก่บริษัท Kongsberg นอร์เวย์ สำหรับการติดตั้ง NSM แก่เรือฟริเกต LCS
โดยอู่เรือ Boustead Naval Shipyard(BNS) มาเลเซียได้รับสัญญาวงเงิน 9 billion Malaysian Ringgit($ 2.1 billion) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2014 สำหรับโครงการสร้างเรือฟริเกต LCS จำนวน 6ลำแก่กองทัพเรือมาเลเซีย
เรือฟริเกตชั้น Maharaja Lela หรือโครงการ LCS มีพื้นฐานจากแบบเรือคอร์เวต Gowind 2500 ของ Naval Group ฝรั่งเศส(DCNS เดิม) โดยมีระวางขับน้ำประมาณ 3,000tons เรือลำแรกของชั้นคือ KD Maharaja Lela ถูกปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2017
เรือฟริเกต LCS ที่จะมีตามมาอีก 5ลำในอนาคตคือ KD Sharif Mashor, KD Raja Mahadi, KD Mat Salleh, KD Tok Janggut และ KD Mat Kilau ครับ(http://aagth1.blogspot.com/2017/08/lcs-gowind-kd-maharaja-lela.html)
วันพฤหัสบดีที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2561
Chaiseri ไทยเปิดตัวรถหุ้มเกราะล้อยาง First Win รุ่นปราบจลาจล และมาเลเซียพร้อมนำ Deftech AV4 เข้าประจำการ
Chaiseri from Thailand presents its First Win anti-riot vehicle at DSA 2018
Chaiseri First Win anti-riot vehicle at DSA 2018, the International Defense and Security Exhibition in Malaysia. (Picture source Army Recognition)
http://www.armyrecognition.com/dsa_2018_news_official_show_daily/chaiseri_from_thailand_presents_its_first_win_anti-riot_vehicle_at_dsa_2018.html
Deftech AV4 Lipan Bara 4x4 armored ready to be used by Malaysian army
Deftech AV4 Lipan Bara 4x4 armoured vehicle at DSA 2018, the International Defense and Security Exhibition in Malaysia (Picture source Army Recognition)
https://armyrecognition.com/dsa_2018_news_official_show_daily/deftech_av4_lipan_bara_4x4_armored_ready_to_be_used_by_malaysian_army.html
ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Defence Services Asia 2018(DSA 2018) ที่ Kuala Lumpur มาเลเซีย ระหว่างวันที่ 16-19 เมษายนนี้
บริษัท ชัยเสรี เม็ททอล แอนด์ รับเบอร์ จำกัด(Chaiseri metal & rubber Co. Ltd.) ประเทศไทยได้เปิดตัวรถหุ้มเกราะล้อยางป้องกันทุ่นระเบิด(MRAP: Mine-Resistant Ambush Protected) First Win I 4x4 รุ่นปราบจลาจล(Anti-Riot) เป็นครั้งแรก
First Win 4x4 เป็นรถหุ้มเกราะล้อยางระบบขับเคลื่อนสี่ล้อที่ออกแบบและผลิตโดยบริษัท Chaiseri ประเทศไทย
โดยรถหุ้มเกราะล้อยาง First Win รุ่นแรกได้เปิดตัวในระดับนานาชาติครั้งแรกในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ IDEX 2011 ที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เมื่อเดือนมิถุนายน 2011
รถเกราะล้อยาง First Win 4x4 รุ่นสำหรับตำรวจและหน่วยงานรักษากฏหมายและความมั่นคงนี้มีพื้นฐานจากรถรุ่น First Win I โดยสามารถบรรทุกกำลังได้ ๙นาย ประกอบด้วย ผู้บังคับการรถ, พลขับ, พลยิง และเจ้าหน้าที่ตำรวจอีก ๖นาย
ตัวรถมีเกราะป้องกันกระสุนปืนเล็กในระดับมาตรฐาน NATO STANAG Level 1(กระสุน 5.56x45mm 7.62x51mm ball) และป้องกันทุ่นระเบิดได้ในระดับ STANAG Level 2b/2a(ระเบิด 6kg)
หลังคาของรถเกราะล้อยาง First Win I 4x4 สามารถติดตั้งป้อมปืน Remote(RWS: Remote Weapons Station) ซึ่งสามารถติดตั้งอาวุธได้ถึงระดับปืนกลหนักขนาด 12.7mm
โดยในงานแสดงก่อนหน้านี้รถหุ้มเกราะล้อยาง First Win I ได้ติดตั้งป้อมปืน Remote พร้อมปืนกลหนัก M2 .50cal(http://aagth1.blogspot.com/2017/11/chaiseri-first-win-ii-condor-asean.html)
ตัวถังรถช่วงล่างของรถเกราะล้อยางตระกูล First Win 4x4 เป็นทรง V-shaped เดี่ยว โดยมีส่วนห้องเครื่องยนต์ด้านหน้าตัวรถ สถานีพลประจำรถอยู่ตรงกลาง และส่วนบรรทุกกำลังพลอยู่ด้านหลัง
ส่วนระบบขับเคลื่อนของรถมีเกราะป้องกันแบบเต็มรูปแบบจากการถูกยิงด้วยกระสุนปืนและโจมตีด้วยทุ่นระเบิด มีประตูด้านข้างซ้ายขวารวมสองประตู และประตูด้านหลังรถหนึ่งประตู พร้อมช่องยิงอาวุธจากภายในรถรอบคัน 11ช่องยิง
อุปกรณ์ประจำรถมาตรฐานของรถหุ้มเกราะล้อยาง Chaiseri First Win ประกอบด้วยชุดเคลื่อนย้าย RTC60, ระบบห้ามล้อ ABS(Anti-Lock Braking System), ยางล้อรถแบบอุดรอยรั่วได้เองและวิ่งต่อได้ระยะหนึ่งเมื่อยางแบน
รถเกราะ First Win ยังมีกล่องเก็บสัมภาระในข้างตัวรถทั้งสองด้าน และถังเชื้อเพลิงสำรองแบบ Jerrycan 1-2ใบด้านท้ายรถ มีรอกกว้านดึงตนเองที่กันชนด้านหน้ารถ และมีไฟฉายแสงขาวบนหลังคารถเหนือส่วนบรรทุกกำลังพล
First Win 4x4 ได้รับการสั่งจัดหาโดยหลายหน่วยงานความมั่นคงของไทย เช่น First Win II ที่กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร กอ.รมน. สั่งจัดหา ๑๓คัน และส่งให้นาวิกโยธิน กองทัพเรือไทย(Royal Thai Marine Corps, Royal Thai Navy) ทดลองใช้ในปี 2017
รวมทั้งกองทัพบกไทย(Royal Thai Army), สำนักงานตำรวจแห่งชาติไทย(Royal Thai Police), กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม, สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด, สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ และกรมราชทัณฑ์(http://aagth1.blogspot.com/2017/06/chaiseri-first-win-2.html, http://aagth1.blogspot.com/2017/07/hmv-150-first-win-ii.html)
รวมถึงยังมีการพัฒนา First Win 4x4 Left Hand Drive สำหรับส่งออกให้กับกองทัพบกฟิลิปปินส์(Philippine Army) ไปใช้งานแล้วด้วย
First Win 4x4 ยังได้รับการส่งออกให้กับกองทัพบกมาเลเซีย(Malaysian Army)โดยการการถ่ายทอด Technology พร้อมสิทธิบัตรการผลิตให้กับ DEFTECH(DRB-HICOM Defence Technologies Sdn. Bhd) มาเลเซียในชื่อรถหุ้มเกราะล้อยาง AV4 Lipan Bara 4x4
โดยรถหุ้มเกราะล้อยาง Deftech AV4 Lipan Bara 4x4 ได้พร้อมที่จะถูกใช้งานโดยกองทัพบกมาเลเซีย ตามที่ Deftech มาเลเซียได้รับสัญญาจัดหา AV4 จำนวน 20คันเมื่อเดือนเมษายนปี 2016
AV4 Lipan Bara 4x4 มาเลเซียเป็นรถรุ่นที่มีการปรับปรุงจาก First Win 4x4 ไทยตามความต้องการกองทัพบกมาเลเซีย โดยมีอาวุธเป็นป้อมปืนแบบมีพลประจำป้อม 1นายติดปืนกล Gatling 7.62mm
AV4 Lipan Bara 4x4 ตัวรถมีเกราะป้องกันกระสุนปืนเล็กในระดับมาตรฐาน NATO STANAG 4569 Level 2(กระสุนเจาะเกราะเพลิง 7.62x39mm API BZ ball ที่ระยะ 30m)
และป้องกันทุ่นระเบิดได้ในระดับ STANAG Level 3B(ระเบิด 8kg) ใต้ตัวรถด้านล่าง และป้องกันทุ่นระเบิดได้ในระดับ STANAG Level 4A(ระเบิด 10kg) สำหรับทุกล้อทั้งสี่
รถหุ้มเกราะล้อยาง AV4 Lipan Bara ติดตั้งเครื่องยนต์ดีเซล Cummins กำลัง 300HP สหรัฐฯ ทำความเร็วรอบได้ 2,350rpm พร้อมระบบส่งกำลังอัตโนมัติ Allison 3000SP ทำความเร็วได้สูงสุด 110km/h พิสัยทำการไกลสุด 600km
มีความสูงจากพื้นรถ 400mm ไต่ทางลาดชันได้ 60% ไต่ทางลาดเอียดได้ 40% ข้ามเครื่องกีดขวางสูงได้ 0.5m และข้ามคูกว้างได้ 0.9m และข้ามน้ำได้ลึก 1m ครับ
Chaiseri First Win anti-riot vehicle at DSA 2018, the International Defense and Security Exhibition in Malaysia. (Picture source Army Recognition)
http://www.armyrecognition.com/dsa_2018_news_official_show_daily/chaiseri_from_thailand_presents_its_first_win_anti-riot_vehicle_at_dsa_2018.html
Deftech AV4 Lipan Bara 4x4 armored ready to be used by Malaysian army
Deftech AV4 Lipan Bara 4x4 armoured vehicle at DSA 2018, the International Defense and Security Exhibition in Malaysia (Picture source Army Recognition)
https://armyrecognition.com/dsa_2018_news_official_show_daily/deftech_av4_lipan_bara_4x4_armored_ready_to_be_used_by_malaysian_army.html
บริษัท ชัยเสรี เม็ททอล แอนด์ รับเบอร์ จำกัด(Chaiseri metal & rubber Co. Ltd.) ประเทศไทยได้เปิดตัวรถหุ้มเกราะล้อยางป้องกันทุ่นระเบิด(MRAP: Mine-Resistant Ambush Protected) First Win I 4x4 รุ่นปราบจลาจล(Anti-Riot) เป็นครั้งแรก
First Win 4x4 เป็นรถหุ้มเกราะล้อยางระบบขับเคลื่อนสี่ล้อที่ออกแบบและผลิตโดยบริษัท Chaiseri ประเทศไทย
โดยรถหุ้มเกราะล้อยาง First Win รุ่นแรกได้เปิดตัวในระดับนานาชาติครั้งแรกในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ IDEX 2011 ที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เมื่อเดือนมิถุนายน 2011
รถเกราะล้อยาง First Win 4x4 รุ่นสำหรับตำรวจและหน่วยงานรักษากฏหมายและความมั่นคงนี้มีพื้นฐานจากรถรุ่น First Win I โดยสามารถบรรทุกกำลังได้ ๙นาย ประกอบด้วย ผู้บังคับการรถ, พลขับ, พลยิง และเจ้าหน้าที่ตำรวจอีก ๖นาย
ตัวรถมีเกราะป้องกันกระสุนปืนเล็กในระดับมาตรฐาน NATO STANAG Level 1(กระสุน 5.56x45mm 7.62x51mm ball) และป้องกันทุ่นระเบิดได้ในระดับ STANAG Level 2b/2a(ระเบิด 6kg)
หลังคาของรถเกราะล้อยาง First Win I 4x4 สามารถติดตั้งป้อมปืน Remote(RWS: Remote Weapons Station) ซึ่งสามารถติดตั้งอาวุธได้ถึงระดับปืนกลหนักขนาด 12.7mm
โดยในงานแสดงก่อนหน้านี้รถหุ้มเกราะล้อยาง First Win I ได้ติดตั้งป้อมปืน Remote พร้อมปืนกลหนัก M2 .50cal(http://aagth1.blogspot.com/2017/11/chaiseri-first-win-ii-condor-asean.html)
ตัวถังรถช่วงล่างของรถเกราะล้อยางตระกูล First Win 4x4 เป็นทรง V-shaped เดี่ยว โดยมีส่วนห้องเครื่องยนต์ด้านหน้าตัวรถ สถานีพลประจำรถอยู่ตรงกลาง และส่วนบรรทุกกำลังพลอยู่ด้านหลัง
ส่วนระบบขับเคลื่อนของรถมีเกราะป้องกันแบบเต็มรูปแบบจากการถูกยิงด้วยกระสุนปืนและโจมตีด้วยทุ่นระเบิด มีประตูด้านข้างซ้ายขวารวมสองประตู และประตูด้านหลังรถหนึ่งประตู พร้อมช่องยิงอาวุธจากภายในรถรอบคัน 11ช่องยิง
อุปกรณ์ประจำรถมาตรฐานของรถหุ้มเกราะล้อยาง Chaiseri First Win ประกอบด้วยชุดเคลื่อนย้าย RTC60, ระบบห้ามล้อ ABS(Anti-Lock Braking System), ยางล้อรถแบบอุดรอยรั่วได้เองและวิ่งต่อได้ระยะหนึ่งเมื่อยางแบน
รถเกราะ First Win ยังมีกล่องเก็บสัมภาระในข้างตัวรถทั้งสองด้าน และถังเชื้อเพลิงสำรองแบบ Jerrycan 1-2ใบด้านท้ายรถ มีรอกกว้านดึงตนเองที่กันชนด้านหน้ารถ และมีไฟฉายแสงขาวบนหลังคารถเหนือส่วนบรรทุกกำลังพล
First Win 4x4 ได้รับการสั่งจัดหาโดยหลายหน่วยงานความมั่นคงของไทย เช่น First Win II ที่กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร กอ.รมน. สั่งจัดหา ๑๓คัน และส่งให้นาวิกโยธิน กองทัพเรือไทย(Royal Thai Marine Corps, Royal Thai Navy) ทดลองใช้ในปี 2017
รวมทั้งกองทัพบกไทย(Royal Thai Army), สำนักงานตำรวจแห่งชาติไทย(Royal Thai Police), กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม, สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด, สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ และกรมราชทัณฑ์(http://aagth1.blogspot.com/2017/06/chaiseri-first-win-2.html, http://aagth1.blogspot.com/2017/07/hmv-150-first-win-ii.html)
รวมถึงยังมีการพัฒนา First Win 4x4 Left Hand Drive สำหรับส่งออกให้กับกองทัพบกฟิลิปปินส์(Philippine Army) ไปใช้งานแล้วด้วย
First Win 4x4 ยังได้รับการส่งออกให้กับกองทัพบกมาเลเซีย(Malaysian Army)โดยการการถ่ายทอด Technology พร้อมสิทธิบัตรการผลิตให้กับ DEFTECH(DRB-HICOM Defence Technologies Sdn. Bhd) มาเลเซียในชื่อรถหุ้มเกราะล้อยาง AV4 Lipan Bara 4x4
โดยรถหุ้มเกราะล้อยาง Deftech AV4 Lipan Bara 4x4 ได้พร้อมที่จะถูกใช้งานโดยกองทัพบกมาเลเซีย ตามที่ Deftech มาเลเซียได้รับสัญญาจัดหา AV4 จำนวน 20คันเมื่อเดือนเมษายนปี 2016
AV4 Lipan Bara 4x4 มาเลเซียเป็นรถรุ่นที่มีการปรับปรุงจาก First Win 4x4 ไทยตามความต้องการกองทัพบกมาเลเซีย โดยมีอาวุธเป็นป้อมปืนแบบมีพลประจำป้อม 1นายติดปืนกล Gatling 7.62mm
AV4 Lipan Bara 4x4 ตัวรถมีเกราะป้องกันกระสุนปืนเล็กในระดับมาตรฐาน NATO STANAG 4569 Level 2(กระสุนเจาะเกราะเพลิง 7.62x39mm API BZ ball ที่ระยะ 30m)
และป้องกันทุ่นระเบิดได้ในระดับ STANAG Level 3B(ระเบิด 8kg) ใต้ตัวรถด้านล่าง และป้องกันทุ่นระเบิดได้ในระดับ STANAG Level 4A(ระเบิด 10kg) สำหรับทุกล้อทั้งสี่
รถหุ้มเกราะล้อยาง AV4 Lipan Bara ติดตั้งเครื่องยนต์ดีเซล Cummins กำลัง 300HP สหรัฐฯ ทำความเร็วรอบได้ 2,350rpm พร้อมระบบส่งกำลังอัตโนมัติ Allison 3000SP ทำความเร็วได้สูงสุด 110km/h พิสัยทำการไกลสุด 600km
มีความสูงจากพื้นรถ 400mm ไต่ทางลาดชันได้ 60% ไต่ทางลาดเอียดได้ 40% ข้ามเครื่องกีดขวางสูงได้ 0.5m และข้ามคูกว้างได้ 0.9m และข้ามน้ำได้ลึก 1m ครับ
วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561
รัสเซียจะสร้างเรือฟริเกตชั้น Project 11356 และเสนอเครื่องบินลำเลียงเบา IL-112V แก่อินเดีย
Russia to sign contract with India on building Project 11356 frigates — source
The first two frigates will be built at Russia’s Yantar Shipyard on the Baltic coast and the other two at an Indian shipyard, according to the source
http://tass.com/defense/1000239
Russia offers Il-112V to India
An artist's impression of the Il-112V that Russia is offering to India. (Ilyushin)
http://www.janes.com/article/79221/russia-offers-il-112v-to-india
Ilyushin IL-112V in Production at Voronezh Aircraft Factory.
รัสเซียและอินเดียได้กำหนดจะลงนามสัญญาการจัดสร้างเรือฟริเกตชั้น Project 11356 จำนวน 4ลำภายใต้ "ข้อกำหนด 2+2" เดือนมิถุนายน 2018 นี้ ตามที่แหล่งข่าวในแวดวงการทูตและการทหารกล่าวกับ TASS เมื่อวันที่ 17 เมษายนที่ผ่านมา
"ในเดือนมิถุนายน ชุดสัญญาคาดว่าจะได้รับการลงนามกับอินเดียในการสน้างเรือฟริเกต Project 11356 จำนวน 4ลำ" แหล่งข่าวกล่าว
โดยแหล่งข่าวเสริมว่าเอกสารกำหนดข้อตกลงการสร้างเรือฟริเกต "ภายใต้สูตร 2+2" นั้น เรือสองลำแรกจะสร้างที่อู่เรือ Yantar ในฝั่งทะเล Baltic รัสเซีย และอีกสองลำหลังจากที่อู่เรือของอินเดีย
อย่างไรก็ตามกองบริการสหพันธรัฐเพื่อความร่วมมือด้านทหารและเทคนิค และ Rosoboronexport หน่วยงานจัดการด้านการส่งออกอาวุธของรัฐบาลรัสเซียได้ปฏิเสธที่จะให้ความเห็นเกี่ยวกับข้อมูลนี้ต่อ TASS
ตามที่แหล่งข่าวได้เน้นว่าตัวเรือของเรือฟริเกตชั้น Project 11356 ได้มีการสร้างอยู่แล้วที่อู่เรือ Yantar จะไม่ถูกนำมาใช้ในสัญญาจัดหากับอินเดีย และ"เรือรบที่สั่งจัดหาจะเป็นเรือที่สร้างใหม่หมดทั้งลำ"
แหล่งไม่ได้ให้รายละเอียดว่ากรอบระยะเวลานานเท่าใดที่คาดว่าสัญญาจะเสร็จสิ้น และยังปฏิเสธที่จะระบุถึงว่าระบบขับเคลื่อนแบบแบบใดจะถูกติดตั้งกับเรือฟริเกตของอินเดีย
ซึ่งระบบขับเคลื่อนของเรือฟริเกตชั้น Project 11356 อินเดียเป็นได้ทั้งเครื่องยนต์ที่พัฒนาโดย Saturn รัสเซีย หรือินเดียจะสั้่งจัดหาเครื่องยนต์จาก Zorya-Mashproekt ยูเครน
(เครื่องยนต์ยูเครนนั้นเดิมที่จะใช้กับเรือชั้นนี้ แต่ผลจากการที่รัสเซียผนวก Crimea และแทรกแซงสงครามใน Donbass ยูเครนตั้งแต่ปี 2014 ทำให้รัสเซีย-ยูเครนตัดความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างกัน ส่งผลให้รัสเซียต้องพัฒนาเครื่องยนต์เองเพื่อใช้กับเรือ)
โดยอินเดียจะสร้างเรือฟริเกตชั้น Project 11356 ของตนที่อู่เรือ Goa Shipyard Limited(GSL) ซึ่งได้ร่วมงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ DefExpo India 2018 ที่ Chennai อินเดียระหว่างวันที่ 11-14 เมษายนที่ผ่านมา(
สื่อโฆษณา GSL อินเดียได้ระบุว่าการเริ่มก่อสร้างเรือฟริเกตนั้นคาดว่าจะเริ่มได้ในช่วงกลางปี 2020 โดยก่อนหน้านี้รัสเซียได้เคยสร้างเรือฟริเกตชั้น Talwar(Project 11356) จำนวน 6ลำแก่กองทัพเรืออินเดีย(Indian Navy) มาแล้ว
การเจรจาสัญญาระหว่างรัสเซีย-อินเดียสำหรับการจัดหาเรือฟริเกตชั้น Project 11356 กำลังดำเนินการอยู่ Viktor Kladov ผู้อำนวยการด้านความร่วมมือนานาชาติและนโยบายภูมิภาคของ ROSTEC กลุ่มรัฐวิสาหกิจอุตสาหกรรมความมั่นคงรัสเซียกล่าวก่อนหน้าว่า
สัญญาที่วางแผนไว้จะดำเนิภายใต้สูตร 2+2 ซึ่งเรือฟริเกตสองลำแรกจะสร้างในรัสเซียและส่งมอบแก่อินเดียเมื่อสร้างเสร็จพร้อม ขณะที่เรือฟริเกตอีกสองลำจะสร้างในอู่เรือของอินเดียอู่หนึ่ง(http://aagth1.blogspot.com/2017/07/project-20385-project-11356.html)
เรือฟริเกตชั้น Project 11356 ที่เข้าประจำการในกองทัพเรือรัสเซีย(Russian Navy)แล้วก่อนหน้า 3ลำคือ Admiral Grigorovich, Admiral Essen และ Admiral Makarov ที่ประจำการในกองเรือทะเล(Black Sea Fleet) นั้น
ยังมีตัวเรืออีก 3ลำคือ Admiral Butakov, Admiral Istomin และ Admiral Kornilov ที่ถูกคาดการณ์ก่อนหน้าว่าจะถูกสร้างต่อให้เสร็จสำหรับขายให้อินเดีย(http://aagth1.blogspot.com/2016/03/project-11356-3.html)
อย่างไรก็ตามรองผู้บัญชากการกองทัพเรือรัสเซีย พลเรือโท Viktor Bursuk ได้กล่าภายหลังว่าเรือฟริเกตชั้น Project 11356 3ลำหลังเหล่านี้จะถูกสร้างตามความต้องการเพื่อกองทัพเรือรัสเซีย
ทั้งนี้เรือฟริเกตชั้น Project 11356 มีระวางขับน้ำประมาณ 4,000tons ทำความเร็วได้สูงสุด 30knots และมีระยะเวลาปฏิบัติการนาน 30วัน
รัสเซียเสนอเครื่องบินลำเลียงเบาทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด Ilyushin IL-112V แก่กองทัพอากาศอินเดีย(Indian Air Force) เพื่อเติมเต็มความต้องการโครงการจัดหาเครื่องบินลำเลียงขนาดกลาง MTA(Medium Transport Aircraft)
Ilyushin รัสเซียได้กล่าวเมื่อวันที่ 12 เมษายนที่ผ่านมาว่า ข้อเสนอได้รับการร่างขึ้นโดยรัสเซียสำหรับการขายเครื่องบินลำเลียง IL-112V แก่อินเดียเพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินลำเลียง Avro 748M ที่มีอายุการใช้งานมานาน
ทางอินเดียยังไม่มีการให้ความเห็นใดๆอย่างทางการต่อข้อเสนอของรัสเซียในขณะนี้ โดยโครงการจัดหาเครื่องบินลำเลียงใหม่ MTA นี้เป็นคนละโครงการกับโครงการพัฒนาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ไอพ่น IL-214 MTA(Multirole Transport Aircraft) ที่มีชื่อย่อเดียวกัน
โดยโครงการเครื่องบินลำเลียง Multirole Transport Aircraft ที่เริ่มมาตั้งแต่ปี 2013 นั้น Ilyushin รัสเซียได้ยุติความร่วมมือกับ Hindustan Aeronautics Limited(HAL) อินเดียในปี 2016 ซึ่งรัสเซียจะดำเนินการพัฒนาเครื่องบินลำเลียงไอพ่น IL-214 ต่อด้วยตนเอง(http://aagth1.blogspot.com/2016/01/su-35s-il-214-il-76md-90.html)
ในเดือนพฤษภาคม 2015 กลุ่มอุตสาหกรรมร่วม Tata-Airbus อินเดีย-ยุโรปได้ถูกเลือกเพื่อการจัดหาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีขนาดกลางสองเครื่องยนต์ใบพัด Airbus C295 จำนวน 56เครื่องเพื่อทดแทน Avro 748M แต่ยังไม่มีการลงนามสัญญาจริง
ในเดือนมีนาคม 2017 Jane's ได้รายงานว่ากระทรวงกลาโหมอินเดียกำลังเตรียมการเริ่มต้นการเจรจาสำหรับการจัดหา 'ในระยะเวลาอันสั้น' เพื่อที่จะมีการลงนามสัญญาได้ภายในปีงบประมาณ 2018
ในกรอบข้อเสนอล่าสุดของรัสเซีย IL-112V ได้ถูกเลือกโดยกระทรวงกลาโหมรัสเซียตั้งแต่ปี 2003 เพื่อทดแทนเครื่องบินลำเลียง Antonov An-26(NATO กำหนดรหัส Curl) ที่ประจำการมาตั้งแต่สมัยอดีตสหภาพโซเวีย
โดยจะมีการสร้างเครื่องบินลำเลียง IL-112V มากกว่า 100เครื่องเพื่อเข้าประจำการในกองทัพอากาศรัสเซีย(Russian Aerospace Force)
อย่างไรก็ตามรัสเซียได้เคยระงับโครงการพัฒนาเครื่องบินลำเลียง IL-112V เพราะเหตุผลด้าน 'ข้อบกพร่องในการออกแบบ' และ 'ขาดความน่าสนใจ' โดยกระทรวงกลาโหมรัสเซียได้ระงับงบประมาณโครงการ IL-112V ในเดือนพฤษภาคม 2010
ซึ่งกระทรวงกลาโหมรัสเซียในขณะนั้นได้เลือกที่จะจัดหาเครื่องบินลำเลียงเบา Antonov An-140T ยูเครนซึ่งเป็นรุ่นลำเลียงทางยุทธวิธีของเครื่องบินโดยสายสองเครื่องยนต์ใบพัด An-140 ยูเครน
แต่ทว่าผลจากการตัดความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างรัสเซียและยูเครน หลังจากที่รัสเซียเข้าผนวก Crimea และสนับสนุนกลุ่มติดอาวุธทำสงครามต่อกองกำลังความมั่นคงยูเครนในภาค Donbass ตั้งแต่ปี 2014 เป็นต้นมา
ทำให้รัสเซียยกเลิกการจัดหาเครื่องบินลำเลียง An-140 ทุกรุ่นเพิ่มเติม และกระทรวงกลาโหมรัสเซียได้กลับมาให้งบประมาณโครงการเครื่องบินลำเลียง IL-112V อีกครั้งในปี 2014
ในปี 2017 ที่ผ่านมามีรายงานว่ามีการลงนามสัญญาจัดหาแล้วก่อนสิ้นปี 2017 แต่ตามข้อมูลจาก Jane’s All the World’s Aircraft: Development & Production นั้นยังไม่มีการลงนามสัญญาจัดหาและวันที่ประกาศสัญญาแต่อย่างใด
ทั้งนี้เครื่องบินลำเลียง IL-112V เครื่องต้นแบบชุดแรกกำลังถูกสร้างที่โรงงานอากาศยาน Voronezh ที่ตั้งอยู่ทางใต้ของ Moscow 400km และมีกำหนดการทำการบินครั้งแรกภายในปี 2018 นี้(http://aagth1.blogspot.com/2017/06/ilyushin-il-112v-2018.html)
IL-112V เป็นเครื่องบินลำเลียงสองเครื่องยนต์ใบพัดทางยุทธวิธีขนาดเบาซึ่งมีน้ำหนักบรรทุกสูงสุด 5tons ทำความเร็วเดินทางได้ที่ 550km/h มีพิสัยทำการ 1,200km สามารถทำการบินได้จากสนามบินที่ไม่มีการเตรียมการทั้งแบบทางวิ่งปูคอนกรีตและดินอัด
IL-112 มีแผนที่จะสร้างสองรุ่นคือ IL-112T รุ่นพลเรือน และ IL-112V รุ่นใช้งานทางทหาร มีรายงานก่อนหน้าว่ากระทรวงกลาโหมรัสเซียต้องการสั่งจัดหา IL-112 จำนวน 62เครื่องครับ
The first two frigates will be built at Russia’s Yantar Shipyard on the Baltic coast and the other two at an Indian shipyard, according to the source
http://tass.com/defense/1000239
Russia offers Il-112V to India
http://www.janes.com/article/79221/russia-offers-il-112v-to-india
Ilyushin IL-112V in Production at Voronezh Aircraft Factory.
รัสเซียและอินเดียได้กำหนดจะลงนามสัญญาการจัดสร้างเรือฟริเกตชั้น Project 11356 จำนวน 4ลำภายใต้ "ข้อกำหนด 2+2" เดือนมิถุนายน 2018 นี้ ตามที่แหล่งข่าวในแวดวงการทูตและการทหารกล่าวกับ TASS เมื่อวันที่ 17 เมษายนที่ผ่านมา
"ในเดือนมิถุนายน ชุดสัญญาคาดว่าจะได้รับการลงนามกับอินเดียในการสน้างเรือฟริเกต Project 11356 จำนวน 4ลำ" แหล่งข่าวกล่าว
โดยแหล่งข่าวเสริมว่าเอกสารกำหนดข้อตกลงการสร้างเรือฟริเกต "ภายใต้สูตร 2+2" นั้น เรือสองลำแรกจะสร้างที่อู่เรือ Yantar ในฝั่งทะเล Baltic รัสเซีย และอีกสองลำหลังจากที่อู่เรือของอินเดีย
อย่างไรก็ตามกองบริการสหพันธรัฐเพื่อความร่วมมือด้านทหารและเทคนิค และ Rosoboronexport หน่วยงานจัดการด้านการส่งออกอาวุธของรัฐบาลรัสเซียได้ปฏิเสธที่จะให้ความเห็นเกี่ยวกับข้อมูลนี้ต่อ TASS
ตามที่แหล่งข่าวได้เน้นว่าตัวเรือของเรือฟริเกตชั้น Project 11356 ได้มีการสร้างอยู่แล้วที่อู่เรือ Yantar จะไม่ถูกนำมาใช้ในสัญญาจัดหากับอินเดีย และ"เรือรบที่สั่งจัดหาจะเป็นเรือที่สร้างใหม่หมดทั้งลำ"
แหล่งไม่ได้ให้รายละเอียดว่ากรอบระยะเวลานานเท่าใดที่คาดว่าสัญญาจะเสร็จสิ้น และยังปฏิเสธที่จะระบุถึงว่าระบบขับเคลื่อนแบบแบบใดจะถูกติดตั้งกับเรือฟริเกตของอินเดีย
ซึ่งระบบขับเคลื่อนของเรือฟริเกตชั้น Project 11356 อินเดียเป็นได้ทั้งเครื่องยนต์ที่พัฒนาโดย Saturn รัสเซีย หรือินเดียจะสั้่งจัดหาเครื่องยนต์จาก Zorya-Mashproekt ยูเครน
(เครื่องยนต์ยูเครนนั้นเดิมที่จะใช้กับเรือชั้นนี้ แต่ผลจากการที่รัสเซียผนวก Crimea และแทรกแซงสงครามใน Donbass ยูเครนตั้งแต่ปี 2014 ทำให้รัสเซีย-ยูเครนตัดความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างกัน ส่งผลให้รัสเซียต้องพัฒนาเครื่องยนต์เองเพื่อใช้กับเรือ)
โดยอินเดียจะสร้างเรือฟริเกตชั้น Project 11356 ของตนที่อู่เรือ Goa Shipyard Limited(GSL) ซึ่งได้ร่วมงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ DefExpo India 2018 ที่ Chennai อินเดียระหว่างวันที่ 11-14 เมษายนที่ผ่านมา(
สื่อโฆษณา GSL อินเดียได้ระบุว่าการเริ่มก่อสร้างเรือฟริเกตนั้นคาดว่าจะเริ่มได้ในช่วงกลางปี 2020 โดยก่อนหน้านี้รัสเซียได้เคยสร้างเรือฟริเกตชั้น Talwar(Project 11356) จำนวน 6ลำแก่กองทัพเรืออินเดีย(Indian Navy) มาแล้ว
การเจรจาสัญญาระหว่างรัสเซีย-อินเดียสำหรับการจัดหาเรือฟริเกตชั้น Project 11356 กำลังดำเนินการอยู่ Viktor Kladov ผู้อำนวยการด้านความร่วมมือนานาชาติและนโยบายภูมิภาคของ ROSTEC กลุ่มรัฐวิสาหกิจอุตสาหกรรมความมั่นคงรัสเซียกล่าวก่อนหน้าว่า
สัญญาที่วางแผนไว้จะดำเนิภายใต้สูตร 2+2 ซึ่งเรือฟริเกตสองลำแรกจะสร้างในรัสเซียและส่งมอบแก่อินเดียเมื่อสร้างเสร็จพร้อม ขณะที่เรือฟริเกตอีกสองลำจะสร้างในอู่เรือของอินเดียอู่หนึ่ง(http://aagth1.blogspot.com/2017/07/project-20385-project-11356.html)
เรือฟริเกตชั้น Project 11356 ที่เข้าประจำการในกองทัพเรือรัสเซีย(Russian Navy)แล้วก่อนหน้า 3ลำคือ Admiral Grigorovich, Admiral Essen และ Admiral Makarov ที่ประจำการในกองเรือทะเล(Black Sea Fleet) นั้น
ยังมีตัวเรืออีก 3ลำคือ Admiral Butakov, Admiral Istomin และ Admiral Kornilov ที่ถูกคาดการณ์ก่อนหน้าว่าจะถูกสร้างต่อให้เสร็จสำหรับขายให้อินเดีย(http://aagth1.blogspot.com/2016/03/project-11356-3.html)
อย่างไรก็ตามรองผู้บัญชากการกองทัพเรือรัสเซีย พลเรือโท Viktor Bursuk ได้กล่าภายหลังว่าเรือฟริเกตชั้น Project 11356 3ลำหลังเหล่านี้จะถูกสร้างตามความต้องการเพื่อกองทัพเรือรัสเซีย
ทั้งนี้เรือฟริเกตชั้น Project 11356 มีระวางขับน้ำประมาณ 4,000tons ทำความเร็วได้สูงสุด 30knots และมีระยะเวลาปฏิบัติการนาน 30วัน
รัสเซียเสนอเครื่องบินลำเลียงเบาทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด Ilyushin IL-112V แก่กองทัพอากาศอินเดีย(Indian Air Force) เพื่อเติมเต็มความต้องการโครงการจัดหาเครื่องบินลำเลียงขนาดกลาง MTA(Medium Transport Aircraft)
Ilyushin รัสเซียได้กล่าวเมื่อวันที่ 12 เมษายนที่ผ่านมาว่า ข้อเสนอได้รับการร่างขึ้นโดยรัสเซียสำหรับการขายเครื่องบินลำเลียง IL-112V แก่อินเดียเพื่อทดแทนฝูงเครื่องบินลำเลียง Avro 748M ที่มีอายุการใช้งานมานาน
ทางอินเดียยังไม่มีการให้ความเห็นใดๆอย่างทางการต่อข้อเสนอของรัสเซียในขณะนี้ โดยโครงการจัดหาเครื่องบินลำเลียงใหม่ MTA นี้เป็นคนละโครงการกับโครงการพัฒนาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ไอพ่น IL-214 MTA(Multirole Transport Aircraft) ที่มีชื่อย่อเดียวกัน
โดยโครงการเครื่องบินลำเลียง Multirole Transport Aircraft ที่เริ่มมาตั้งแต่ปี 2013 นั้น Ilyushin รัสเซียได้ยุติความร่วมมือกับ Hindustan Aeronautics Limited(HAL) อินเดียในปี 2016 ซึ่งรัสเซียจะดำเนินการพัฒนาเครื่องบินลำเลียงไอพ่น IL-214 ต่อด้วยตนเอง(http://aagth1.blogspot.com/2016/01/su-35s-il-214-il-76md-90.html)
ในเดือนพฤษภาคม 2015 กลุ่มอุตสาหกรรมร่วม Tata-Airbus อินเดีย-ยุโรปได้ถูกเลือกเพื่อการจัดหาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีขนาดกลางสองเครื่องยนต์ใบพัด Airbus C295 จำนวน 56เครื่องเพื่อทดแทน Avro 748M แต่ยังไม่มีการลงนามสัญญาจริง
ในเดือนมีนาคม 2017 Jane's ได้รายงานว่ากระทรวงกลาโหมอินเดียกำลังเตรียมการเริ่มต้นการเจรจาสำหรับการจัดหา 'ในระยะเวลาอันสั้น' เพื่อที่จะมีการลงนามสัญญาได้ภายในปีงบประมาณ 2018
ในกรอบข้อเสนอล่าสุดของรัสเซีย IL-112V ได้ถูกเลือกโดยกระทรวงกลาโหมรัสเซียตั้งแต่ปี 2003 เพื่อทดแทนเครื่องบินลำเลียง Antonov An-26(NATO กำหนดรหัส Curl) ที่ประจำการมาตั้งแต่สมัยอดีตสหภาพโซเวีย
โดยจะมีการสร้างเครื่องบินลำเลียง IL-112V มากกว่า 100เครื่องเพื่อเข้าประจำการในกองทัพอากาศรัสเซีย(Russian Aerospace Force)
อย่างไรก็ตามรัสเซียได้เคยระงับโครงการพัฒนาเครื่องบินลำเลียง IL-112V เพราะเหตุผลด้าน 'ข้อบกพร่องในการออกแบบ' และ 'ขาดความน่าสนใจ' โดยกระทรวงกลาโหมรัสเซียได้ระงับงบประมาณโครงการ IL-112V ในเดือนพฤษภาคม 2010
ซึ่งกระทรวงกลาโหมรัสเซียในขณะนั้นได้เลือกที่จะจัดหาเครื่องบินลำเลียงเบา Antonov An-140T ยูเครนซึ่งเป็นรุ่นลำเลียงทางยุทธวิธีของเครื่องบินโดยสายสองเครื่องยนต์ใบพัด An-140 ยูเครน
แต่ทว่าผลจากการตัดความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างรัสเซียและยูเครน หลังจากที่รัสเซียเข้าผนวก Crimea และสนับสนุนกลุ่มติดอาวุธทำสงครามต่อกองกำลังความมั่นคงยูเครนในภาค Donbass ตั้งแต่ปี 2014 เป็นต้นมา
ทำให้รัสเซียยกเลิกการจัดหาเครื่องบินลำเลียง An-140 ทุกรุ่นเพิ่มเติม และกระทรวงกลาโหมรัสเซียได้กลับมาให้งบประมาณโครงการเครื่องบินลำเลียง IL-112V อีกครั้งในปี 2014
ในปี 2017 ที่ผ่านมามีรายงานว่ามีการลงนามสัญญาจัดหาแล้วก่อนสิ้นปี 2017 แต่ตามข้อมูลจาก Jane’s All the World’s Aircraft: Development & Production นั้นยังไม่มีการลงนามสัญญาจัดหาและวันที่ประกาศสัญญาแต่อย่างใด
ทั้งนี้เครื่องบินลำเลียง IL-112V เครื่องต้นแบบชุดแรกกำลังถูกสร้างที่โรงงานอากาศยาน Voronezh ที่ตั้งอยู่ทางใต้ของ Moscow 400km และมีกำหนดการทำการบินครั้งแรกภายในปี 2018 นี้(http://aagth1.blogspot.com/2017/06/ilyushin-il-112v-2018.html)
IL-112V เป็นเครื่องบินลำเลียงสองเครื่องยนต์ใบพัดทางยุทธวิธีขนาดเบาซึ่งมีน้ำหนักบรรทุกสูงสุด 5tons ทำความเร็วเดินทางได้ที่ 550km/h มีพิสัยทำการ 1,200km สามารถทำการบินได้จากสนามบินที่ไม่มีการเตรียมการทั้งแบบทางวิ่งปูคอนกรีตและดินอัด
IL-112 มีแผนที่จะสร้างสองรุ่นคือ IL-112T รุ่นพลเรือน และ IL-112V รุ่นใช้งานทางทหาร มีรายงานก่อนหน้าว่ากระทรวงกลาโหมรัสเซียต้องการสั่งจัดหา IL-112 จำนวน 62เครื่องครับ
วันอังคารที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2561
ปากีสถานกำลังเจรจาขั้นต้นกับมาเลเซียในการขายเครื่องบินขับไล่ JF-17
DSA 2018: Pakistan in ‘primary level’ talks with Malaysia on JF-17
Pakistan is in preliminary discussions with Malaysia about the potential sale of the JF-17 Thunder seen here in Pakistani colours. Source: IHS Markit/Patrick Allen
http://www.janes.com/article/79282/dsa-2018-pakistan-in-primary-level-talks-with-malaysia-on-jf-17
ปากีสถานและมาเลเซียกำลังอยู่ระหว่างการหารือขั้นต้นเกี่ยวกับความเป็นได้ในส่งออกเครื่องบินขับไล่ JF-17 Thunder ที่พัฒนาโดย Pakistan Aeronautical Complex(PAC) ปากีสถาน และ Chengdu Aircraft Industry Corporation(CAC) สาธารณรัฐประชาชนจีน
ตามที่เจ้าหน้าที่ของ PAC ปากีสถานยืนยันกับ Jane's ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Defence Services Asia 2018(DSA 2018) ที่ Kuala Lumpur มาเลเซีย ระหว่างวันที่ 16-19 เมษายนนี้
เจ้าหน้าที่ของ PAC ปากีสถานผู้ซึ่งไม่ต้องการให้ระบุตัวตนกล่าวว่า รัฐบาลของทั้งสองประเทศได้มีการ 'พูดคุยในระดับขั้นต้น' เกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการขายเครื่องบินไล่ไอพ่นเครื่องยนต์เดียว JF-17
ในรูปแบบการสั่งจัดหาที่ตรงตามความต้องการของกองทัพอากาศมาเลเซีย(RMAF: Royal Malaysian Air Force, TUDM: Tentera Udara Diraja Malaysia)
"เราได้ตระหนักถึงความต้องการที่เป็นไปได้ในมาเลเซียสำหรับเครื่องบินขับไล่ที่มีประสิทธิภาพต่อราคา มันไม่ได้มีการพูดคุยที่เคร่งเครียด
แต่ผ่านทางช่องทางรัฐบาลต่อรัฐบาลมันมีสิ่งที่เราสามารถอธิบายได้ว่าเป็นการพูดคุยในระดับขั้นต้นเกี่ยวกับโครงการ JF-17" เขากล่าว
ในการสนับสนุนความเป็นไปได้ในการขายสำหรับมาเลเซีย เจ้าหน้าที่กล่าวว่า PAC ปากีสถานมีความเต็มใจที่จะเข้าเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมของมาเลเซียผ่านทางการถ่ายทอด Technology
เพื่อจัดตั้งโรงงานทั้งการผลิตชิ้นส่วนประกอบหรือการซ่อมบำรุง(MRO: Maintenance, Repair and Overhaul) ในมาเลเซีย "แน่นอนข้อตกลงด้านอุตสาหกรรมจะขึ้นกับการขายตามความต้องการของมาเลเซีย" เขากล่าว
มาเลเซียได้แสดงความสนใจในเครื่องบินขับไล่ JF-17 ครั้งแรกเมื่อหลายปีก่อน Jane's ได้รายงานก่อนหน้านี้ว่าข้าราชการระดับสูงของมาเลเซียในปากีสถานได้กล่าวเมื่อเดือนธันวาคม 2015 ว่า
มาเลเซียกำลังพิจารณาการจัดซื้อ JF-17 และน่าจะมีการตัดสินใจใน "เร็วๆนี้" อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมารัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซียได้ปฏิเสธเรื่องดังกล่าว
กองทัพอากาศมาเลเซียมีความต้องการที่จะอุดช่องว่างที่เกิดความล่าช้าในโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ใหม่ MRCA(Multirole Combat Aircraft) ซึ่งมีการประกาศมานานกว่า 10ปีก่อนแล้ว
โดยโครงการจัดหาเครื่องบินไล่ใหม่ MRCA ของกองทัพอากาศมาเลเซียได้ถูกระงับลงชั่วคราวเนื่องจากให้ความสำคัญต่อการจัดหาเครื่องบินตรวจการณ์ทางทะเลเพื่อรับมือภัยคุกคามจากกลุ่มก่อการร้าย และการขาดแคลนงบประมาณ(http://aagth1.blogspot.com/2017/07/mrca.html, http://aagth1.blogspot.com/2017/12/blog-post_22.html)
ทั้งนี้เครื่องบินขับไล่ JF-17 ได้ประสบความสำเร็จในการส่งออกแก่ลูกค้ารายแรกในกลุ่มประเทศ ASEAN คือกองทัพอากาศพม่า(Myanmar Air Force) โดยสั่งจัดหาจำนวน 16เครื่อง โดยเครื่องชุดแรกได้มีการสร้างเสร็จจากโรงงานและทดสอบการบินไปแล้ว
ซึ่งพม่ามีแผนที่จะดำเนินการประกอบสร้างเครื่องบินขับไล่ JF-17 ภายในพม่าโดยการถ่ายทอด Technology จากปากีสถานและจีนด้วยครับ(http://aagth1.blogspot.com/2017/02/jf-17.html, http://aagth1.blogspot.com/2017/06/jf-17.html)
http://www.janes.com/article/79282/dsa-2018-pakistan-in-primary-level-talks-with-malaysia-on-jf-17
ปากีสถานและมาเลเซียกำลังอยู่ระหว่างการหารือขั้นต้นเกี่ยวกับความเป็นได้ในส่งออกเครื่องบินขับไล่ JF-17 Thunder ที่พัฒนาโดย Pakistan Aeronautical Complex(PAC) ปากีสถาน และ Chengdu Aircraft Industry Corporation(CAC) สาธารณรัฐประชาชนจีน
ตามที่เจ้าหน้าที่ของ PAC ปากีสถานยืนยันกับ Jane's ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Defence Services Asia 2018(DSA 2018) ที่ Kuala Lumpur มาเลเซีย ระหว่างวันที่ 16-19 เมษายนนี้
เจ้าหน้าที่ของ PAC ปากีสถานผู้ซึ่งไม่ต้องการให้ระบุตัวตนกล่าวว่า รัฐบาลของทั้งสองประเทศได้มีการ 'พูดคุยในระดับขั้นต้น' เกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการขายเครื่องบินไล่ไอพ่นเครื่องยนต์เดียว JF-17
ในรูปแบบการสั่งจัดหาที่ตรงตามความต้องการของกองทัพอากาศมาเลเซีย(RMAF: Royal Malaysian Air Force, TUDM: Tentera Udara Diraja Malaysia)
"เราได้ตระหนักถึงความต้องการที่เป็นไปได้ในมาเลเซียสำหรับเครื่องบินขับไล่ที่มีประสิทธิภาพต่อราคา มันไม่ได้มีการพูดคุยที่เคร่งเครียด
แต่ผ่านทางช่องทางรัฐบาลต่อรัฐบาลมันมีสิ่งที่เราสามารถอธิบายได้ว่าเป็นการพูดคุยในระดับขั้นต้นเกี่ยวกับโครงการ JF-17" เขากล่าว
ในการสนับสนุนความเป็นไปได้ในการขายสำหรับมาเลเซีย เจ้าหน้าที่กล่าวว่า PAC ปากีสถานมีความเต็มใจที่จะเข้าเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมของมาเลเซียผ่านทางการถ่ายทอด Technology
เพื่อจัดตั้งโรงงานทั้งการผลิตชิ้นส่วนประกอบหรือการซ่อมบำรุง(MRO: Maintenance, Repair and Overhaul) ในมาเลเซีย "แน่นอนข้อตกลงด้านอุตสาหกรรมจะขึ้นกับการขายตามความต้องการของมาเลเซีย" เขากล่าว
มาเลเซียได้แสดงความสนใจในเครื่องบินขับไล่ JF-17 ครั้งแรกเมื่อหลายปีก่อน Jane's ได้รายงานก่อนหน้านี้ว่าข้าราชการระดับสูงของมาเลเซียในปากีสถานได้กล่าวเมื่อเดือนธันวาคม 2015 ว่า
มาเลเซียกำลังพิจารณาการจัดซื้อ JF-17 และน่าจะมีการตัดสินใจใน "เร็วๆนี้" อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมารัฐมนตรีกลาโหมมาเลเซียได้ปฏิเสธเรื่องดังกล่าว
กองทัพอากาศมาเลเซียมีความต้องการที่จะอุดช่องว่างที่เกิดความล่าช้าในโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ใหม่ MRCA(Multirole Combat Aircraft) ซึ่งมีการประกาศมานานกว่า 10ปีก่อนแล้ว
โดยโครงการจัดหาเครื่องบินไล่ใหม่ MRCA ของกองทัพอากาศมาเลเซียได้ถูกระงับลงชั่วคราวเนื่องจากให้ความสำคัญต่อการจัดหาเครื่องบินตรวจการณ์ทางทะเลเพื่อรับมือภัยคุกคามจากกลุ่มก่อการร้าย และการขาดแคลนงบประมาณ(http://aagth1.blogspot.com/2017/07/mrca.html, http://aagth1.blogspot.com/2017/12/blog-post_22.html)
ทั้งนี้เครื่องบินขับไล่ JF-17 ได้ประสบความสำเร็จในการส่งออกแก่ลูกค้ารายแรกในกลุ่มประเทศ ASEAN คือกองทัพอากาศพม่า(Myanmar Air Force) โดยสั่งจัดหาจำนวน 16เครื่อง โดยเครื่องชุดแรกได้มีการสร้างเสร็จจากโรงงานและทดสอบการบินไปแล้ว
ซึ่งพม่ามีแผนที่จะดำเนินการประกอบสร้างเครื่องบินขับไล่ JF-17 ภายในพม่าโดยการถ่ายทอด Technology จากปากีสถานและจีนด้วยครับ(http://aagth1.blogspot.com/2017/02/jf-17.html, http://aagth1.blogspot.com/2017/06/jf-17.html)
วันจันทร์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2561
กองทัพบกไทยรับมอบระบบป้องกันภัยทางอากาศ Skyguard 3 และปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน Oerlikon GDF-007
RHEINMETALL Defence was delivered Oerlikon GDF-007 35mm twin cannon Anti-Aircraft Artillery with Skyguard 3 fire control radar to Royal Thai Army in late March 2018 .
Skyguard 3 and Oerlikon GDF-007 35mm Air Defence Systems was testing by Royal Thai Army Air Defense Command at Artillery Firing Range, Artillery Center, Fort Phaholyothin(Phahonyothin), Lopburi Province.
ผบ.นปอ.ร่วมงานวันสถาปนาหน่วยขึ้นตรง หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก พร้อมติดตามการฝึก ที่ ลพบุรี
พลโท สุรใจ จิตต์แจ้ง ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก พร้อมคณะ เดินทางร่วมงาน วันคล้ายวันสถาปนา กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 3 กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1
ซึ่งถือหน่วยขึ้นตรง หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก ในโอกาสครบรอบ 66 ปี ณ ที่ตั้งหน่วยภายในค่ายพหลโยธิน ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี โดยมี พันโท ต่อพงษ์ สุวรรณรักษ์ ผู้บังคับกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 3 พร้อมคณะให้การตอนรับ
โดยพิธีสงฆ์ ยังได้รับเกียรติจาก พลโท พิทักษ์ จิตต์แจ้ง อดีตผู้บังคับกองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 3 คนที่ 10 เป็นประธานนำ ผู้บังคับบัญชา และกำลังพลของหน่วยร่วมประกอบพิธีสงฆ์ เพื่อความเป็นสิริมงคล
ตลอดจนเพื่ออุทิศส่วนกุศลฯ ให้แก่กำลังพลของหน่วยที่ได้เสียสละชีวิต และเลือดเนื้อในสมรภูมิรบต่างๆ เพื่อปกป้องอธิปไตร ของชาติตั้งแต่อดีตจนถึงปัจุบัน
ทั้งนี้ พลโท สุรใจ จิตต์แจ้ง ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก พร้อมคณะยังได้ถือโอกาสเดินทางลงพื้นที่ เพื่อติดตามการฝึกศึกษา การใช้อาวุธปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานแบบใหม่ ของกำลังพล หน่วยขึ้นตรงหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก
ซึ่งเป็นอาวุธปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานลำกล้องคู่ แบบ GDF 007 และเรด้าตรวจจับอากาศยาน ที่ ทันสมัย ซึ่งเตรียมนำเข้าใช้งานในกองทัพบก อีกด้วย
https://www.facebook.com/dailysunday.news/posts/2081743975176353
จากชุดภาพล่าสุดกองทัพบกไทยได้รับมอบระบบป้องกันภัยทางอากาศปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานลากจูง Oerlikon GDF-007 35mm แฝดสอง และ Radar ควบคุมการยิง Skyguard 3 จากบริษัท Rheinmetall Defence เยอรมนี-สวิตเซอร์แลนด์ แล้ว
ที่มีรายงานว่า Fire Control Radar แบบ Skyguard 3 จำนวน ๔ระบบ และ ปตอ.ลากจูง Oerlikon GDF-007 35mm จำนวน ๘กระบอก ได้ถูกส่งมอบมาถึงไทยพร้อมเจ้าหน้าที่ทางเทคนิคของบริษัท Rheinmetall ตั้งแต่ช่วงปลายเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๖๑(2018) ที่ผ่านมา
รายงานเพิ่มเติมระบุว่าระบบป้องกันภัยทางอากาศ Skyguard 3 และ ปตอ.Oerlikon GDF-007 35mm น่าจะถูกนำเข้าประจำการ ณ กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่๔ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศที่๒ กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน
ซึ่ง หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก ได้นำ ปตอ.ลจ.Oerlikon GDF-007 35mm ไปทดสอบการปฏิบัติงานที่ สนามยิงปืนใหญ่เขาพุโลน ค่ายพหลโยธิน ศูนย์การทหารปืนใหญ่ ลพบุรี (ที่ตั้ง กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่๓ กรมทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่๑ พล.ปตอ.)
ก่อนหน้านี้ตัวแทนของ Rheinmetall ได้กล่าวในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Defense and Security 2017 ที่ศูนย์จัดแสดงสินค้า Impact เมืองทองธานี กรุงเทพฯ ประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๖-๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐(2017) ว่า
การส่งมอบระบบป้องกันภัยทางอากาศ Skyguard 3 ให้แก่กองทัพบกไทยถ้าไม่ใช่ภายในปลายปี 2017 ก็อาจจะภายในปี 2018 ซึ่งก็ตรงตามรายงานจากชุดภาพล่าสุด(http://aagth1.blogspot.com/2017/11/vl-mica-skyguard-3-2018.html)
ตามที่กองทัพบกไทยได้สั่งจัดหาระบบป้องกันภัยทางอากาศ Skyguard 3 จำนวน ๔ระบบ และ ปตอ.ลากจูง Oerlikon GDF-007 35mm จำนวน ๘กระบอก ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๘(2015) (http://aagth1.blogspot.com/2016/01/rheinmetall-oerlikon-skyguard-3.html)
เป็นที่เข้าใจว่า ปตอ.Oerlikon GDF-007 35mm แฝดสอง ถูกจัดหาเพื่อทดแทนปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานเก่าที่ล้าสมัย โดยเฉพาะระบบ ปตอ.จีนอย่าง Type 74 37mm แฝดสอง และ Type 59 57mm รวมถึง ปตอ.สหรัฐฯ รุ่นเก่าอย่าง M55 .50cal(12.7x99mm) แฝดสี่
ทั้งนี้ยังมีรายงานอีกว่าในช่วงปลายเดือนมกราคมที่ผ่านมา กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่๗ พล.ปตอ.ได้ทำการเคลื่อนย้ายระบบอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศ Spada อิตาลี ไปเก็บรักษาในคลังสำรองสงครามโดยเข้าใจว่าน่าจะถูกปลดประจำการลงแล้ว
ซึ่งเป็นไปได้ว่าน่าเพื่อเตรียมการรับมอบระบบป้องกันภัยทางอากาศอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศอัตตาจร VL MICA จำนวน ๒ระบบ จากบริษัท MBDA Missile System ฝรั่งเศส-เยอรมนี-สหราชอาณาจักร-อิตาลี เข้าประจำการครับ
วันอาทิตย์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2561
รัสเซียยอมรับรถรบยิงสนับสนุนรถถัง BMPT Terminator เพื่อเข้าประจำการ
Russia’s top brass accepts Terminator tank support combat vehicles for service
The vehicle is armed with two 30mm guns, a large-caliber machine-gun and the Ataka-T anti-tank system
Anton Novoderezhkin/TASS
http://tass.com/defense/999576
กระทรวงกลาโหมรัสเซียได้ยอมรับการนำรถรบยิงสนับสนุนรถถัง BMPT Terminator เพื่อเข้าประจำการและได้เริ่มการส่งมอบรถจากสายการผลิตจำนวนมากแก่กองทัพรัสเซียแล้ว
ตามที่ Uralvagonzavod ภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงผู้ผลิตรถถังหลักรายหลักของรัสเซียกล่าวรายงานเมื่อวันที่ 13 เมษายนที่ผ่านมา
"รถรบสนับสนุนรถถังที่ถูกขนานนามว่า Terminator ได้ถูกยอมรับสำหรับเข้าประจำการและได้เริ่มการการส่งมอบชุดรถแก่กองทัพบกรัสเซีย(Russian Army) แล้ว รถชุดแรกได้ถูกส่งมอบให้กองทัพรัสเซียเป็นที่เรียบร้อยแล้ว" Uralvagonzavod กล่าว
สัญญาการจัดหารถรบสนับสนุนรถถัง BMPT Terminator แก่กองทัพรัสเซียได้รับการลงนามโดยกระทรวงกลาโหมรัสเซียและ Uralvagonzavod ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Army 2017 ที่ผ่านมา
ตามที่แหล่งข่าวในภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงรัสเซียกล่าวกับ TASS รถรบ BMPT Terminator จำนวน 10คันได้ถูกส่งมอบให้กองทัพบกรัสเซียแล้ว ตามที่ปรากฏภาพในการฝึกซ้อมการสวนสนามเมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา
โดย BMPT Terminator จะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีการสวนสนามวันประกาศชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่สอง ณ จัตุรัสแดง ในนครหลวง Moscow วันที่ 9 พฤษภาคม 2018 ที่จะมาถึง
Uralvagonzavod รัสเซียได้ทำการสาธิตแสดงสมรรถนะของรถรบ BMPT Terminator ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ DefExpo India 2018 ณ Chennai อินเดียระหว่างวันที่ 11-14 เมษายน
โดยรัฐมนตรีกลาโหมอินเดีย นาง Nirmala Sitharaman ได้ร่วมชมการจัดแสดงของรถรบสนับสนุนรถถัง Terminator ที่ส่วนจัดแสดงของ Uralvagonzavod ด้วย
BMPT Terminator มีพื้นฐานพัฒนาจากรถแคร่ฐานของรถถังหลัก T-90 นำมาติดตั้งป้อมปืนใหญ่กล 30mm แฝดคู่ 2กระบอก ปืนกลร่วมแกนขนาด 7.62mm เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ 30mm และอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง Ataka-T
รถรบหุ้มเกราะสายพานแบบนี้ถูกออกแบบมาเพื่อการยิงสนับสนุนให้กับหน่วยยานเกราะในการรุก โดยเฉพาะการทำลายล้างกำลังพลติดอาวุธของข้าศึกที่มีระบบอาวุธต่อสู้รถถังแบบพกพาเคลื่อนย้ายได้ด้วยบุุคคล
รถรบหุ้มเกราะยิงสนับสนุน BMPT รถต้นแบบรุ่นแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงต้นปี 2000s โดยมีพื้นฐานจากรถแคร่ฐานของรถถังหลัก T-72 และต่อมามีการพัฒนารถรุ่นที่สอง BMPT-72 Terminator2 เปิดตัวในปี 2013 มีรายงานว่ารัสเซียได้มีการส่ง BMPT ไปทดสอบการรบจริงที่ซีเรียมาแล้ว
ทั้งนี้มีหลายประเทศที่ให้ความสนใจจัดหารถรบหุ้มเกราะ BMPT Terminator ไปใช้งานแล้วหรืออยู่ระหว่างการจัดหาเช่น คาซัคสถาน และแอลจีเรีย ครับ(http://aagth1.blogspot.com/2017/09/t-90m-t-80bvm-bmpt-72-terminator2.html)
The vehicle is armed with two 30mm guns, a large-caliber machine-gun and the Ataka-T anti-tank system
Anton Novoderezhkin/TASS
http://tass.com/defense/999576
กระทรวงกลาโหมรัสเซียได้ยอมรับการนำรถรบยิงสนับสนุนรถถัง BMPT Terminator เพื่อเข้าประจำการและได้เริ่มการส่งมอบรถจากสายการผลิตจำนวนมากแก่กองทัพรัสเซียแล้ว
ตามที่ Uralvagonzavod ภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงผู้ผลิตรถถังหลักรายหลักของรัสเซียกล่าวรายงานเมื่อวันที่ 13 เมษายนที่ผ่านมา
"รถรบสนับสนุนรถถังที่ถูกขนานนามว่า Terminator ได้ถูกยอมรับสำหรับเข้าประจำการและได้เริ่มการการส่งมอบชุดรถแก่กองทัพบกรัสเซีย(Russian Army) แล้ว รถชุดแรกได้ถูกส่งมอบให้กองทัพรัสเซียเป็นที่เรียบร้อยแล้ว" Uralvagonzavod กล่าว
สัญญาการจัดหารถรบสนับสนุนรถถัง BMPT Terminator แก่กองทัพรัสเซียได้รับการลงนามโดยกระทรวงกลาโหมรัสเซียและ Uralvagonzavod ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ Army 2017 ที่ผ่านมา
ตามที่แหล่งข่าวในภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงรัสเซียกล่าวกับ TASS รถรบ BMPT Terminator จำนวน 10คันได้ถูกส่งมอบให้กองทัพบกรัสเซียแล้ว ตามที่ปรากฏภาพในการฝึกซ้อมการสวนสนามเมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา
โดย BMPT Terminator จะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีการสวนสนามวันประกาศชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่สอง ณ จัตุรัสแดง ในนครหลวง Moscow วันที่ 9 พฤษภาคม 2018 ที่จะมาถึง
Uralvagonzavod รัสเซียได้ทำการสาธิตแสดงสมรรถนะของรถรบ BMPT Terminator ในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ DefExpo India 2018 ณ Chennai อินเดียระหว่างวันที่ 11-14 เมษายน
โดยรัฐมนตรีกลาโหมอินเดีย นาง Nirmala Sitharaman ได้ร่วมชมการจัดแสดงของรถรบสนับสนุนรถถัง Terminator ที่ส่วนจัดแสดงของ Uralvagonzavod ด้วย
BMPT Terminator มีพื้นฐานพัฒนาจากรถแคร่ฐานของรถถังหลัก T-90 นำมาติดตั้งป้อมปืนใหญ่กล 30mm แฝดคู่ 2กระบอก ปืนกลร่วมแกนขนาด 7.62mm เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ 30mm และอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง Ataka-T
รถรบหุ้มเกราะสายพานแบบนี้ถูกออกแบบมาเพื่อการยิงสนับสนุนให้กับหน่วยยานเกราะในการรุก โดยเฉพาะการทำลายล้างกำลังพลติดอาวุธของข้าศึกที่มีระบบอาวุธต่อสู้รถถังแบบพกพาเคลื่อนย้ายได้ด้วยบุุคคล
รถรบหุ้มเกราะยิงสนับสนุน BMPT รถต้นแบบรุ่นแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงต้นปี 2000s โดยมีพื้นฐานจากรถแคร่ฐานของรถถังหลัก T-72 และต่อมามีการพัฒนารถรุ่นที่สอง BMPT-72 Terminator2 เปิดตัวในปี 2013 มีรายงานว่ารัสเซียได้มีการส่ง BMPT ไปทดสอบการรบจริงที่ซีเรียมาแล้ว
ทั้งนี้มีหลายประเทศที่ให้ความสนใจจัดหารถรบหุ้มเกราะ BMPT Terminator ไปใช้งานแล้วหรืออยู่ระหว่างการจัดหาเช่น คาซัคสถาน และแอลจีเรีย ครับ(http://aagth1.blogspot.com/2017/09/t-90m-t-80bvm-bmpt-72-terminator2.html)
วันเสาร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2561
เครื่องบินขับไล่ F-35 สหรัฐฯเสร็จสิ้นการบินทดสอบในขั้นโครงการพัฒนาแล้ว
F-35 Completes Most Comprehensive Flight Test Program In Aviation History
The final SDD Test flight was piloted by F-35 Test pilot Peter Wilson, April 11, 2018.
The F-35C completed a mission to collect loads data while carrying external 2,000-pound GBU-31 Joint Direct Attack Munitions (JDAM) and AIM-9X Sidewinder heat-seeking missiles. (Photo by Lockheed Martin)
F-35 aircraft, CF-2, completed the final SDD flight at Naval Air Station Patuxent River, Md., April 11, 2018. (Photo by Lockheed Martin)
https://www.f35.com/news/detail/f-35-completes-most-comprehensive-flight-test-program-in-aviation-history
โครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35 Lightning II Joint Strike Fighters(JSF) ได้ประสบความสำเร็จในการเสร็จสิ้นการบินทดสอบพัฒนาการสุดท้ายของโครงการในขั้นการพัฒนาและสาธิตระบบ(SDD: System Development and Demonstration) แล้ว
การบินทดสอบในขั้น SDD ครั้งสุดท้ายของโครงการ F-35 ทำการบินโดยนักบินทดสอบ Peter Wilson เมื่อวันที่ 11 เมษายนที่ผ่านมา ณ สถานีอากาศนาวี Patuxent River กองทัพเรือสหรัฐฯ(U.S. Navy) ในมลรัฐ Maryland
เครื่องบินขับไล่ F-35C (รุ่นปฏิบัติการบนเรือบรรทุกเครื่องบิน CV: Carrier Variant) รหัส CF-2 เป็น F-35 เครื่องสุดท้ายที่ดำเนินการทดสอบของโครงการ JSF ในขั้น SDD
F-35C CF-2 ได้สำเร็จภารกิจการเก็บข้อมูลการบรรทุกอาวุธขณะที่ทำการบินโดยติดตั้งระเบิดนำวิถีดาวเทียม GBU-31 JDAM(Joint Direct Attack Munitions) 2,000lbs และอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศพิสัยใกล้ AIM-9X Sidewinder
"การเสร็จสิ้นการทดสอบการบินขั้น SDD เป็นจุดสูงสุดของตลอดหลายปีในการทำงานอย่างหนักและอุทิศตนจากการร่วมกันของทีมรัฐบาลและภาคอุตสาหกรรม" พลเรือโท Mat Winter เจ้าหน้าที่บริหารสำนักงานโครงการร่วม F-35(JPO: Joint Program Office) กล่าว
"ตั้งแต่การบินครั้งแรกของ F-35A AA-1(รุ่นขึ้นลงตามแบบ CTOL: Conventional Take-Off and Landing) ในปี 2006 โครงการบินทดสอบพัฒนาการได้ดำเนินการมาเป็นเวลามากกว่า 11ปีโดยปราศจากอุบัติเหตุ"
"การปฏิบัติการมากกว่า 9,200เที่ยวบิน, ชั่วโมงบินสะสมมากกว่า 17,000ชั่วโมง และการดำเนินการปฏิบัติตามจุดทดสอบมากกว่า 65,000ครั้งเพื่อยืนยันการออกแบบ, ความทนทาน, ชุดคำสั่ง, ขีดความสามารถอาวุธ และสมรรถนะของ F-35 ทั้งสามรุ่น
ขอแสดงความยินดีต่อทีมทดสอบ F-35 ของเราและการขยายภาคส่วนผู้ร่วมกิจการ F-35 เพื่อการส่งมอบเครื่องขับไล่ใหม่ที่ทรงพลังและมีขีดความสามารถที่เด็ดขาดนี้" พลเรือโท Mat Winter กล่าว
จากวิทยศาสตร์การบินสู่การทดสอบภารกิจ งานที่สำคัญยิ่งยวดได้สำเร็จโดยทีมทดสอบ F-35 เปิดทางให้สำหรับชุดคำสั่งขีดความสามารถ Block 3F จะถูกส่งมอบให้เครื่องบินขับไล่ F-35 ที่เข้าประจำการ
บุคลากรมากกว่า 1,000รายในการบินทดสอบ SDD ทั้งวิศวกร, ช่างซ่อมบำรุง, นักบิน และฝ่ายสนับสนุนได้ทำให้ F-35 ทั้งสามรุ่นครอบคลุมการบินเต็มรูปแบบเพื่อทดสอบสมรรถนะเครื่องและคุณภาพการบิน
ทีมทดสอบได้ดำเนินการทดสอบ 6ส่วนแยกในภาคทะเลและดำเนินการทดสอบการลงจอดในแนวดิ่งมากกว่า 1,500ครั้งของเครื่องบินขับไล่ F-35B(รุ่นขึ้นลงระยะสั้นลงจอดทางดิ่ง STOVL: Short Take-Off and Vertical Landing)
ทีมทดสอบพัฒนาการบินได้เสร็จสิ้นการทดสอบปล่อยอาวุธจากเครื่อง 183ครั้ง, การทดสอบยิงอาวุธด้วยความแม่นยำ 46ครั้ง, การทดสอบประสิทธิผลภารกิจ 33ครั้ง ซึ่งรวมหลายภารกิจ multi-ship ที่มี F-35 ถึง 8เครื่องต่อต้านภัยคุกคามขั้นก้าวหน้า
"โครงการทดสอบการบิน F-35 ได้แสดงถึงโครงการทดสอบพัฒนาการบินที่ครอบคลุมที่สุด, เข้มงวดที่สุด และปลอดภัยที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน" Greg Ulmer รองประธาน Lockheed Martin และผู้จัดการทั่วไปโครงการ F-35 กล่าว
"ทีมร่วมรัฐบาลและภาคอุตสาหกรรมได้สาธิตความร่วมมือและความเชี่ยวชาญที่เกินคาด และผลลัพธ์ได้ส่งมอบแก่เหล่าชายและเหล่าหญิงผู้ที่บินกับ F-35 อันน่าเชื่อมั่นในขีดความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ของมัน"
การทดสอบพัฒนาการบินเป็นองค์ประกอบสำคัญในโครงการขั้น SDD ของ F-35 ซึ่งจะเสร็จสิ้นอย่างเป็นทางการตามการทดสอบการปฏิบัติการและการประเมินค่า(OPEVAL: Operational Test and Evaluation) และกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯจะตัดสินใจนำเครื่องเข้าสู่สายการผลิตเต็มอัตรา
ขณะที่การบินทดสอบ SDD ที่จำเป็นเสร็จสิ้นแล้ว การบินทดสอบ F-35 จะคงมีต่อในการสนับสนุนการปรับปรุงขีดความสามารถและปรับปรุงความทันสมัยของระบบอากาศยาน F-35(ในชุดคำสั่ง Block 4 และชุดคำสั่งมาตรฐานใหม่ที่จะมีตามมา)
ความพยายามนี้เป็นส่วนหนึ่งของ JPO ในกรอบการทำงานการพัฒนาขีดความสามารถและการส่งมอบต่อเนื่อง(C2D2: Continuous Capability Development and Delivery)
ซึ่งจะทำให้ระยะเวลาที่เหมาะสม, การเพิ่มขึ้นของราคาที่ยอมรับได้ของการปรับปรุงขีดความสามารถเครื่องบินขับไล่เพื่อคงการครองอากาศร่วมต่อต้านภัยคุกคามที่พัฒนาขึ้นกับสหรัฐฯและชาติพันธมิตร
ด้วยวิทยาการตรวจจับได้ยาก(Stealth technology), ระบบตรวจจับขั้นก้าวหน้า, ขีดความสามารถด้านอาวุธและพิสัยปฏิบัติการ F-35 เป็นเครื่องบินขับไล่ที่มีอำนาจการสังหาร, ความอยู่รอด และเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายมากที่สุดมากกว่าเครื่องบินขับไล่แบบอื่นที่เคยสร้างขึ้นมา
F-35 สามารถรวบรวม, วิเคราะห์ และแบ่งปันข้อมูลเป็นการทวีกำลังที่ทรงอานุภาพขยายทั้งในภาคอากาศ ภาคพื้นดิน และฐานทัพในสนามรบ และทำให้เหล่าทหารในเครื่องแบบทั้งชายหญิงสามารถปฏิบัติตามภารกิจของพวกเขาและกลับบ้านอย่างปลอดภัยครับ
The final SDD Test flight was piloted by F-35 Test pilot Peter Wilson, April 11, 2018.
The F-35C completed a mission to collect loads data while carrying external 2,000-pound GBU-31 Joint Direct Attack Munitions (JDAM) and AIM-9X Sidewinder heat-seeking missiles. (Photo by Lockheed Martin)
F-35 aircraft, CF-2, completed the final SDD flight at Naval Air Station Patuxent River, Md., April 11, 2018. (Photo by Lockheed Martin)
https://www.f35.com/news/detail/f-35-completes-most-comprehensive-flight-test-program-in-aviation-history
โครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35 Lightning II Joint Strike Fighters(JSF) ได้ประสบความสำเร็จในการเสร็จสิ้นการบินทดสอบพัฒนาการสุดท้ายของโครงการในขั้นการพัฒนาและสาธิตระบบ(SDD: System Development and Demonstration) แล้ว
การบินทดสอบในขั้น SDD ครั้งสุดท้ายของโครงการ F-35 ทำการบินโดยนักบินทดสอบ Peter Wilson เมื่อวันที่ 11 เมษายนที่ผ่านมา ณ สถานีอากาศนาวี Patuxent River กองทัพเรือสหรัฐฯ(U.S. Navy) ในมลรัฐ Maryland
เครื่องบินขับไล่ F-35C (รุ่นปฏิบัติการบนเรือบรรทุกเครื่องบิน CV: Carrier Variant) รหัส CF-2 เป็น F-35 เครื่องสุดท้ายที่ดำเนินการทดสอบของโครงการ JSF ในขั้น SDD
F-35C CF-2 ได้สำเร็จภารกิจการเก็บข้อมูลการบรรทุกอาวุธขณะที่ทำการบินโดยติดตั้งระเบิดนำวิถีดาวเทียม GBU-31 JDAM(Joint Direct Attack Munitions) 2,000lbs และอาวุธปล่อยนำวิถีพื้นสู่อากาศพิสัยใกล้ AIM-9X Sidewinder
"การเสร็จสิ้นการทดสอบการบินขั้น SDD เป็นจุดสูงสุดของตลอดหลายปีในการทำงานอย่างหนักและอุทิศตนจากการร่วมกันของทีมรัฐบาลและภาคอุตสาหกรรม" พลเรือโท Mat Winter เจ้าหน้าที่บริหารสำนักงานโครงการร่วม F-35(JPO: Joint Program Office) กล่าว
"ตั้งแต่การบินครั้งแรกของ F-35A AA-1(รุ่นขึ้นลงตามแบบ CTOL: Conventional Take-Off and Landing) ในปี 2006 โครงการบินทดสอบพัฒนาการได้ดำเนินการมาเป็นเวลามากกว่า 11ปีโดยปราศจากอุบัติเหตุ"
"การปฏิบัติการมากกว่า 9,200เที่ยวบิน, ชั่วโมงบินสะสมมากกว่า 17,000ชั่วโมง และการดำเนินการปฏิบัติตามจุดทดสอบมากกว่า 65,000ครั้งเพื่อยืนยันการออกแบบ, ความทนทาน, ชุดคำสั่ง, ขีดความสามารถอาวุธ และสมรรถนะของ F-35 ทั้งสามรุ่น
ขอแสดงความยินดีต่อทีมทดสอบ F-35 ของเราและการขยายภาคส่วนผู้ร่วมกิจการ F-35 เพื่อการส่งมอบเครื่องขับไล่ใหม่ที่ทรงพลังและมีขีดความสามารถที่เด็ดขาดนี้" พลเรือโท Mat Winter กล่าว
จากวิทยศาสตร์การบินสู่การทดสอบภารกิจ งานที่สำคัญยิ่งยวดได้สำเร็จโดยทีมทดสอบ F-35 เปิดทางให้สำหรับชุดคำสั่งขีดความสามารถ Block 3F จะถูกส่งมอบให้เครื่องบินขับไล่ F-35 ที่เข้าประจำการ
บุคลากรมากกว่า 1,000รายในการบินทดสอบ SDD ทั้งวิศวกร, ช่างซ่อมบำรุง, นักบิน และฝ่ายสนับสนุนได้ทำให้ F-35 ทั้งสามรุ่นครอบคลุมการบินเต็มรูปแบบเพื่อทดสอบสมรรถนะเครื่องและคุณภาพการบิน
ทีมทดสอบได้ดำเนินการทดสอบ 6ส่วนแยกในภาคทะเลและดำเนินการทดสอบการลงจอดในแนวดิ่งมากกว่า 1,500ครั้งของเครื่องบินขับไล่ F-35B(รุ่นขึ้นลงระยะสั้นลงจอดทางดิ่ง STOVL: Short Take-Off and Vertical Landing)
ทีมทดสอบพัฒนาการบินได้เสร็จสิ้นการทดสอบปล่อยอาวุธจากเครื่อง 183ครั้ง, การทดสอบยิงอาวุธด้วยความแม่นยำ 46ครั้ง, การทดสอบประสิทธิผลภารกิจ 33ครั้ง ซึ่งรวมหลายภารกิจ multi-ship ที่มี F-35 ถึง 8เครื่องต่อต้านภัยคุกคามขั้นก้าวหน้า
"โครงการทดสอบการบิน F-35 ได้แสดงถึงโครงการทดสอบพัฒนาการบินที่ครอบคลุมที่สุด, เข้มงวดที่สุด และปลอดภัยที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน" Greg Ulmer รองประธาน Lockheed Martin และผู้จัดการทั่วไปโครงการ F-35 กล่าว
"ทีมร่วมรัฐบาลและภาคอุตสาหกรรมได้สาธิตความร่วมมือและความเชี่ยวชาญที่เกินคาด และผลลัพธ์ได้ส่งมอบแก่เหล่าชายและเหล่าหญิงผู้ที่บินกับ F-35 อันน่าเชื่อมั่นในขีดความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ของมัน"
การทดสอบพัฒนาการบินเป็นองค์ประกอบสำคัญในโครงการขั้น SDD ของ F-35 ซึ่งจะเสร็จสิ้นอย่างเป็นทางการตามการทดสอบการปฏิบัติการและการประเมินค่า(OPEVAL: Operational Test and Evaluation) และกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯจะตัดสินใจนำเครื่องเข้าสู่สายการผลิตเต็มอัตรา
ขณะที่การบินทดสอบ SDD ที่จำเป็นเสร็จสิ้นแล้ว การบินทดสอบ F-35 จะคงมีต่อในการสนับสนุนการปรับปรุงขีดความสามารถและปรับปรุงความทันสมัยของระบบอากาศยาน F-35(ในชุดคำสั่ง Block 4 และชุดคำสั่งมาตรฐานใหม่ที่จะมีตามมา)
ความพยายามนี้เป็นส่วนหนึ่งของ JPO ในกรอบการทำงานการพัฒนาขีดความสามารถและการส่งมอบต่อเนื่อง(C2D2: Continuous Capability Development and Delivery)
ซึ่งจะทำให้ระยะเวลาที่เหมาะสม, การเพิ่มขึ้นของราคาที่ยอมรับได้ของการปรับปรุงขีดความสามารถเครื่องบินขับไล่เพื่อคงการครองอากาศร่วมต่อต้านภัยคุกคามที่พัฒนาขึ้นกับสหรัฐฯและชาติพันธมิตร
ด้วยวิทยาการตรวจจับได้ยาก(Stealth technology), ระบบตรวจจับขั้นก้าวหน้า, ขีดความสามารถด้านอาวุธและพิสัยปฏิบัติการ F-35 เป็นเครื่องบินขับไล่ที่มีอำนาจการสังหาร, ความอยู่รอด และเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายมากที่สุดมากกว่าเครื่องบินขับไล่แบบอื่นที่เคยสร้างขึ้นมา
F-35 สามารถรวบรวม, วิเคราะห์ และแบ่งปันข้อมูลเป็นการทวีกำลังที่ทรงอานุภาพขยายทั้งในภาคอากาศ ภาคพื้นดิน และฐานทัพในสนามรบ และทำให้เหล่าทหารในเครื่องแบบทั้งชายหญิงสามารถปฏิบัติตามภารกิจของพวกเขาและกลับบ้านอย่างปลอดภัยครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)