Denmark and Germany receive the latest versions of the LEOPARD 2
Munich, 29 October 2019 – Krauss-Maffei Wegmann (KMW) has handed the latest versions of the Leopard 2 over to Denmark and Germany.
https://www.kmweg.com/fileadmin/user_upload/news/KMW_Press_Release_Denmark_and_Germany_receive_the_latest_versions_of_the_LEOPARD_2.pdf
บริษัท Krauss-Maffei Wegmann(KMW) เยอรมนีได้ส่งมอบรถถังหลัก Leopard 2A7V รุ่นที่ได้รับการปรับปรุงใหม่ล่าสุดแก่เดนมาร์กและเยอรมนี
Frank Haun ประธานคณะกรรมการบริหารของ KMW เยอรมนีได้นำเสนอรถถังหลัก Leopard 2A7V สองคันแรก ณ Munich เยอรมนีเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
พิธีส่งมอบรถถังหลัก Leopard 2A7V สองคันแรกได้มีส่งมอบสัญลักษณ์รูปกุญแจแก่ Friis Arne Petersen เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเดนมาร์กประจำเยอรมนี และ Dr.Peter Tauber เลขาธิการฝ่ายรัฐสภาประจำกระทรวงกลาโหมสหพันธรัฐเยอรมนี
ทั้งเดนมาร์กและเยอรมนีกำลังจะได้รับรถถังหลัก(MBT: Main Battle Tank) ที่ได้รับการปรับปรุงใหม่ที่มีขีดความสามารถเทียบเคียงได้กับรถถังหลัก Leopard 2A7 ที่สร้างใหม่
อำนาจการป้องกัน, ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่, อำนาจการยิง และความสามารถในการบัญชาการของรถถังหลัก Leopard 2A7V ถูกเพิ่มากขึ้นอย่างสำคัญ
คุณสมบัติหลักรวมถึงระดับการป้องกันที่สูงขึ้น, ระบบจ่ายพลังงานสมรรถนะสูง, ระบบป้องกันนิวเคลียร์, ชีวะ, เคมี(NBC: Nuclear, Biological and Chemical) และระบบปรับอากาศใหม่
เช่นเดียวกับการบูรณาการระบบควบคุมบังคับบัญชา C4I(Command, Control, Communications, Computers and Intelligence) ตามคำสั่งเพื่อให้ตรงตามความต้องการปฏิบัติการเป็นเครือข่ายที่ทันสมัย
การปรับปรุงระบบขับเคลื่อนและการปรับแต่งของระบบรักษาการทรงตัวอาวุธระหว่างเครื่องรองหนุนการส่าย(travel bolster) ให้ความว่องไวและประสิทธิภาพการรบของรถ
กองทัพบกเดนมาร์ก(Royal Danish Army, Hæren) จะได้รับมอบรถถังหลัก Leoprad 2A7V ที่ได้รับการปรับปรุงใหม่รวมทั้งหมด 44คันภายในปี 2022
โดยเดิมกองทัพบกเดนมาร์กมีรถถังหลัก Leopard 2A5DK ที่จัดหาจากเยอรมนีประจำการอยู่ 57คัน ประจำอยู่ในกรมทหารม้า Jutland Dragoon(Jutland Dragoon Regiment, Jydske Dragonregiment) ณ Holstebro
กองทัพบกเยอรมนี(German Army, Deutsches Heer) กองทัพสหพันธรัฐเยอรมนี(Bundeswehr) จะได้รับมอบรถถังหลัก Leopard 2A7V ที่ได้รับการปรับปรุงใหม่ครบ 104คันภายในปี 2023 โดย กองร้อยที่3 กองพันยานเกราะที่203(Panzerbataillion 203) ใน Augustdorf จะเป็นผู้ใช้งานหน่วยแรก
โดยเป็นการปรับปรุงรถถังหลัก Leopard 2A4 68คัน(เดิมของกองทัพบกสวีเดนที่ขายคืน), Leopard 2A6 16คัน(ของกองทัพบกเนเธอร์แลนด์ที่ขายคืน) และ Leopard 2A7 20คัน ให้เป็น Leopard 2A7V ครับ(https://aagth1.blogspot.com/2017/09/rheinmetall-leopard-2a7v-104.html)
วันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2562
วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2562
สหรัฐฯอนุมัติชุดการปรับปรุงเครื่องบินขับไล่ F-15J ญี่ปุ่น 98เครื่อง
USA approves $4.5bn upgrade package for 98 Japanese F-15Js
Japan Air Self-Defense Force F-15J Eagle at Misawa Air Base in Japan
The US State Department approved a $4.5 billion package to upgrade 98 examples of Japan’s Mitsubishi F-15J Eagle air superiority fighter fleet.
https://www.flightglobal.com/news/articles/usa-approves-45bn-upgrade-package-for-98-japanese-461875/
กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯอนุมัติชุดการปรับปรุงความทันสมัยวงเงิน $4.5 billion สำหรับเครื่องบินขับไล่ครองอากาศ Mitsubishi F-15J Eagle กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศ(JASDF: Japan Air Self-Defense Force) จำนวน 98เครื่อง
สำนักงานความร่วมมือด้านความปลอดภัยความมั่นคงสหรัฐฯ(DSCA: Defense Security Cooperation Agency) แจ้งต่อสภา Congress สหรัฐฯถึงความเป็นไปได้ในการขายเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2019 ตามที่เอกสารเผยแพร่ระบุ
การแจ้งของ DSCA สหรัฐฯต่อสภา Congress เป็นขั้นตอนที่จำเป็นตามกฎหมายในการอนุมัติการขายอาวุธยุทโธปกรณ์แก่มิตรประเทศ แต่ไม่ได้หมายความว่าข้อตกลงการขายได้กับการบรรลุผลเสร็จสิ้นแล้วแต่อย่างใด
การปรับปรุงความทันสมัยจะทำให้เครื่องบินขับไล่ F-15J จะเปลี่ยนเป็น "สุดยอดเครื่องบินขับไล่สกัดกั้นของญี่ปุ่น" ตามที่เอกสารแจ้งเตือนของ DSCA กล่าว
เครื่องบินขับไล่ F-15J ญี่ปุ่นเป็นรุ่นที่มีพื้นฐานจากเครื่องบินขับไล่ McDonnell Douglas F-15C Eagle สหรัฐฯ และทำการผลิตในญี่ปุ่นภายใต้สิทธิบัตรโดยบริษัท Mitsubishi Heavy Industries(MHI) ญี่ปุ่น
บริษัท McDonnell Douglas สหรัฐฯรวมถึงสายการผลิตเครื่องบินขับไล่ตระกูล F-15 Eagle ได้ถูกซื้อระหว่างการควบรวมกิจการโดยบริษัท Boeing สหรัฐฯในปี 1997
ส่วนหนึ่งของชุดการปรับปรุงความทันสมัย รัฐบาลญี่ปุ่นได้ร้องของการจัดหา AESA(Active Electronically Scanned Array) radar แบบ Raytheon AN/APG-82(v)1 จำนวน 103ระบบ,
ระบบ Computer ภารกิจแบบ Boeing Advanced Display Core Processor II จำนวน 116ระบบ และระบบสงคราม Elctronic แบบ BAE Systems AN/ALQ-239 จำนวน 101ระบบ สำหรับนำมาติดตั้งกับฝูงบิน F-15J
"ข้อเสนอการขายนี้จะทำให้ญี่ปุ่นมีขีดความสามารถการป้องกันภันทางอากาศที่สำคัญเพื่อช่วยเหลือในการป้องกันมาตุภูมิของญี่ปุ่นและบุคลากรของสหรัฐฯที่อยู่ประจำที่ญี่ปุ่นนี้
สิ่งอุปกรณ์การปรับปรุงความทันสมัย F-15J จะทำให้ญี่ปุ่นจะสามารถตอบสนองต่อภัยคุกคามทางอากาศและปกป้องห้วงอากาศของตนได้ดียิ่งขึ้น" เอกสารของ DSCA สหรัฐฯกล่าว
ญี่ปุ่นเป็นพันธมิตรทางทหารรายใหญ่ที่สุดของสหรัฐฯในแง่ของการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ญี่ปุ่นยังมีที่ตั้งประเทศใกล้กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี, รัสเซีย และจีน สามประเทศที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับสหรัฐฯ
กองบัญชาการกองทัพสหรัฐฯประจำญี่ปุ่น(USFJ: Forces Japan) มีกำลังพล 54,000นาย เป็นการวางกำลังขนาดใหญ่ที่สุดของสหรัฐฯในภูมิภาคนี้และเป็นแกนหลักของกองบัญชาการอินโด-แปซิฟิกกองทัพสหรัฐฯ(USINDOPACOM: US Indo-Pacific Command)
ชุดการปรับปรุงความทันสมัยยังรวมถึงระบบวางแผนภารกิจร่วม Joint Mission Planning Systems, ชุดต่อต้านการปลอมแปลงการเลือกความพร้อม Selective Availability Anti-spoofing Modules และวิทยุพร้อมชุดคำสั่งกำหนดแบบ Rockwell Collins AN/ARC-210
ส่วนหนึ่งของชุดการปรับปรุงจะถูกขายแก่ญี่ปุ่นผ่านขั้นตอนการช่วยเหลือรูปแบบ Foreign Military Sales(FMS) DSCA ไม่ได้เปิดเผยว่างานใดจะดำเนินการผ่าน FMS แต่กล่าวว่า Boeing สหรัฐฯจะเป็นผู้รับสัญญาหลัก
อีกส่วนที่ไม่ได้ถูกระบุในชุดการปรับปรุงจะเป็นในรูปแบบการขายทางพาณิชย์โดยตรง Direct Commercial Sale(DCS) แก่ญี่ปุ่น และน่าจะดำเนินการโดยผู้รับสัญญาหลัก MHI ญี่ปุ่น โดย Boeing สหรัฐฯจะเป็นผู้รับสัญญารายย่อยในการบูรณาการชุดปรับปรุงทั้งหมด
ความเป็นไปได้ในการขายชุดการปรับปรุงความทันสมัยเครื่องบินขับไล่ F-15J ญี่ปุ่นไม่รวมข้อตกลงต่างตอบแทน(no offset) เอกสารของ DSCA สหรัฐฯกล่าวครับ
Japan Air Self-Defense Force F-15J Eagle at Misawa Air Base in Japan
The US State Department approved a $4.5 billion package to upgrade 98 examples of Japan’s Mitsubishi F-15J Eagle air superiority fighter fleet.
https://www.flightglobal.com/news/articles/usa-approves-45bn-upgrade-package-for-98-japanese-461875/
กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯอนุมัติชุดการปรับปรุงความทันสมัยวงเงิน $4.5 billion สำหรับเครื่องบินขับไล่ครองอากาศ Mitsubishi F-15J Eagle กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศ(JASDF: Japan Air Self-Defense Force) จำนวน 98เครื่อง
สำนักงานความร่วมมือด้านความปลอดภัยความมั่นคงสหรัฐฯ(DSCA: Defense Security Cooperation Agency) แจ้งต่อสภา Congress สหรัฐฯถึงความเป็นไปได้ในการขายเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2019 ตามที่เอกสารเผยแพร่ระบุ
การแจ้งของ DSCA สหรัฐฯต่อสภา Congress เป็นขั้นตอนที่จำเป็นตามกฎหมายในการอนุมัติการขายอาวุธยุทโธปกรณ์แก่มิตรประเทศ แต่ไม่ได้หมายความว่าข้อตกลงการขายได้กับการบรรลุผลเสร็จสิ้นแล้วแต่อย่างใด
การปรับปรุงความทันสมัยจะทำให้เครื่องบินขับไล่ F-15J จะเปลี่ยนเป็น "สุดยอดเครื่องบินขับไล่สกัดกั้นของญี่ปุ่น" ตามที่เอกสารแจ้งเตือนของ DSCA กล่าว
เครื่องบินขับไล่ F-15J ญี่ปุ่นเป็นรุ่นที่มีพื้นฐานจากเครื่องบินขับไล่ McDonnell Douglas F-15C Eagle สหรัฐฯ และทำการผลิตในญี่ปุ่นภายใต้สิทธิบัตรโดยบริษัท Mitsubishi Heavy Industries(MHI) ญี่ปุ่น
บริษัท McDonnell Douglas สหรัฐฯรวมถึงสายการผลิตเครื่องบินขับไล่ตระกูล F-15 Eagle ได้ถูกซื้อระหว่างการควบรวมกิจการโดยบริษัท Boeing สหรัฐฯในปี 1997
ส่วนหนึ่งของชุดการปรับปรุงความทันสมัย รัฐบาลญี่ปุ่นได้ร้องของการจัดหา AESA(Active Electronically Scanned Array) radar แบบ Raytheon AN/APG-82(v)1 จำนวน 103ระบบ,
ระบบ Computer ภารกิจแบบ Boeing Advanced Display Core Processor II จำนวน 116ระบบ และระบบสงคราม Elctronic แบบ BAE Systems AN/ALQ-239 จำนวน 101ระบบ สำหรับนำมาติดตั้งกับฝูงบิน F-15J
"ข้อเสนอการขายนี้จะทำให้ญี่ปุ่นมีขีดความสามารถการป้องกันภันทางอากาศที่สำคัญเพื่อช่วยเหลือในการป้องกันมาตุภูมิของญี่ปุ่นและบุคลากรของสหรัฐฯที่อยู่ประจำที่ญี่ปุ่นนี้
สิ่งอุปกรณ์การปรับปรุงความทันสมัย F-15J จะทำให้ญี่ปุ่นจะสามารถตอบสนองต่อภัยคุกคามทางอากาศและปกป้องห้วงอากาศของตนได้ดียิ่งขึ้น" เอกสารของ DSCA สหรัฐฯกล่าว
ญี่ปุ่นเป็นพันธมิตรทางทหารรายใหญ่ที่สุดของสหรัฐฯในแง่ของการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ญี่ปุ่นยังมีที่ตั้งประเทศใกล้กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี, รัสเซีย และจีน สามประเทศที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับสหรัฐฯ
กองบัญชาการกองทัพสหรัฐฯประจำญี่ปุ่น(USFJ: Forces Japan) มีกำลังพล 54,000นาย เป็นการวางกำลังขนาดใหญ่ที่สุดของสหรัฐฯในภูมิภาคนี้และเป็นแกนหลักของกองบัญชาการอินโด-แปซิฟิกกองทัพสหรัฐฯ(USINDOPACOM: US Indo-Pacific Command)
ชุดการปรับปรุงความทันสมัยยังรวมถึงระบบวางแผนภารกิจร่วม Joint Mission Planning Systems, ชุดต่อต้านการปลอมแปลงการเลือกความพร้อม Selective Availability Anti-spoofing Modules และวิทยุพร้อมชุดคำสั่งกำหนดแบบ Rockwell Collins AN/ARC-210
ส่วนหนึ่งของชุดการปรับปรุงจะถูกขายแก่ญี่ปุ่นผ่านขั้นตอนการช่วยเหลือรูปแบบ Foreign Military Sales(FMS) DSCA ไม่ได้เปิดเผยว่างานใดจะดำเนินการผ่าน FMS แต่กล่าวว่า Boeing สหรัฐฯจะเป็นผู้รับสัญญาหลัก
อีกส่วนที่ไม่ได้ถูกระบุในชุดการปรับปรุงจะเป็นในรูปแบบการขายทางพาณิชย์โดยตรง Direct Commercial Sale(DCS) แก่ญี่ปุ่น และน่าจะดำเนินการโดยผู้รับสัญญาหลัก MHI ญี่ปุ่น โดย Boeing สหรัฐฯจะเป็นผู้รับสัญญารายย่อยในการบูรณาการชุดปรับปรุงทั้งหมด
ความเป็นไปได้ในการขายชุดการปรับปรุงความทันสมัยเครื่องบินขับไล่ F-15J ญี่ปุ่นไม่รวมข้อตกลงต่างตอบแทน(no offset) เอกสารของ DSCA สหรัฐฯกล่าวครับ
วันอังคารที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2562
เรือบรรทุกเครื่องบิน CVN-78 USS Gerald R Ford สหรัฐฯทดลองเรือในทะเล
Ford set for sea trials
Aircraft carrier USS Gerald R Ford is slated for sea trials. Source: US Navy
https://www.janes.com/article/92153/ford-set-for-sea-trials
Carrier Ford gets underway for trials
https://www.janes.com/article/92192/carrier-ford-gets-underway-for-trials
As Ford finishes trials, USN considers JFK delivery changes
https://www.janes.com/article/92201/as-ford-finishes-trials-usn-considers-jfk-delivery-changes
เรือบรรทุกเครื่องบินพลังงานนิวเคลียร์ CVN-78 USS Gerald R Ford ได้เสร็จสิ้นการประเมินค่าการเดินเรือด้วยความเร็วหน้าท่าเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2019 ณ อู่เรือ Newport News Shipbuilding(NNS) ของบริษัท Huntington Ingalls Industries
เพื่อช่วยในการเตรียมเรือสำหรับกำหนดการทดลองเรือในทะเลที่กำลังมีขึ้นตามมาในเดือนตุลาคมนี้ ทางการกองทัพเรือสหรัฐฯ(USN: US Navy) ยืนยัน
การเดินเรือเร็ว(fast cruise) เป็นการประเมินค่าการฝึกครั้งสุดท้ายที่ออกแบบเพื่อ "ทำให้ Ford มีชีวิต" หลังจากที่เรือผ่านระดับความพร้อม Post-Shakedown Availability(PSA) เมื่อ 15เดือนก่อน
"ขณะที่อยู่ในอู่เรือ Newport News กำลังพลประจำเรือกำลังดำเนินการฝึกประจำสถานีรบ(General Quarters), ประเมินสถานีคนตกน้ำ(man overboard) และอื่นๆเหมือนปกติ" นาวาตรี Nick Devorak เจ้าหน้าการฝึกของเรือบรรทุกเครื่องบิน USS Gerald R Ford กล่าว
"ห้าวันสุดท้ายทำให้ทีมอุทิศช่วงเวลาเพื่อนำองค์ความรู้และทักษะต่างๆเพื่อทดสอบในการจำลองสภาพแวดล้อมในทะเล การประเมินค่าเช่นการเดินเรือเร็วเป็นสิ่งสำคัญเพราะทำให้กลาสีประจำเรือได้รับความคิดที่ถูกต้องก่อนนำเรือรบสู่ทะเล" นาวาตรี Devorak กล่าว
การเดินเรือเร็วมีขึ้นตามราวหนึ่งสัปดาห์หลังจากที่เรือบรรทุกเครื่องบิน Ford ได้เสร็จสิ้นการรับรองกำลังพลระยะที่3(Phase III Crew Certification) ซึ่งมุ่งเน้นที่การฝึกทีมทางการแพทย์และควบคุมความเสียหายของกำลังพลประจำเรือได้หรือไม่ ที่เป็นการฝึกที่จำเป็นต้องเสร็จสิ้นเพื่อเรือกลับสู่ทะเล
การทดสอบประเมินค่าสองวันของแต่ละทีมที่แยกจากกันต่างหาหรือร่วมกันเพื่อเพื่อประเมินความพร้อมของลูกเรือที่จะตอบสนองต่อความสูญเสียกำลังพลและความเสียหายต่อสิ่งอุปกรณ์ในทะเล
ความพร้อมระดับ PSA ถูกยืดออกไปถึงบางส่วนของเดือนตุลาคมเพื่อทำให้กองทัพเรือสหรัฐฯและอู่เรือ Newport News Shipbuilding มีเวลาเพิ่มเติมเพื่อทำงานแก้ไขปัญหา Lift ยกอาวุธ Advanced Weapons Elevator 11ตัวของเรือ
เรือบรรทุกเครื่องบิน USS Gerald R Ford ได้เริ่มต้นการทดลองเรือในทะเลตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2019 ในมหาสมุทรแอตแลนติก ห่างจากชายฝั่งมลรัฐ Virginia
ระหว่างการฝึกกำลังประจำเรือร่วมกับวิศวกรและคนงานอู่เรือ NNS จะนำอุปกรณ์ประจำเรือผ่านการปฏิบัติงานเพื่อทดสอบและพิสูจน์ความถูกต้องระบบต่างๆที่ได้รับการบำรุงรักษาหรือดัดแปลงระหว่างการขยายการซ่อมบำรุงในช่วง PSA
ระหว่างช่วง PSA อู่เรือ NNS ได้ติดตั้งอุปกรณ์ระบบการรบ, ปรับปรุงระบบควบคุมคันเร่ง, ซ่อมส่วนประกอบระบบขับเคลื่อน และแก้ไขความคลาดเคลื่อนต่างๆที่ถูกระบุในการทดสอบก่อนหน้า อู่เรือเสร็จสิ้นการจัดพื้นที่ในเรือ 304แห่ง และเสร็จสิ้นงานเพื่อการรับรอง lift AWE สี่ตัว
คนงานของอู่เรือ NNS ยังปรับปรุงเครื่องหมุนน้ำ water twister ของระบบหยุดอากาศยานที่ลงจอดบนเรือ AAG(Advanced Arresting Gear) และตกแต่งห้องครัวประจำเรือ(galley) ทั้งหมดอย่างเต็มรูปแบบ
กองทัพเรือสหรัฐฯยังกำลังพิจารณาการเปลี่ยนแผนการส่งมอบสำหรับเรือบรรทุกเครื่องบินชั้น Gerald R Ford ลำที่สอง CVN-79 USS John F. Kennedy "เรากำลังมองไปยัง CVN-79 ใหม่ บนพื้นฐานว่าอะไรที่เราเรียนรู้จาก CVN-78
ว่าอะไรคือหนทางที่มีประสิทธิภาพที่สุดเพื่อส่งมอบเรือบรรทุกเครื่องบินชั้น Ford" James Geurts ผู้ช่วยรัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯฝ่ายการวิจัย, พัฒนา และจัดหากองทัพเรือสหรัฐฯ กล่าวกับสื่อที่การบรรยายสรุป ณ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ Pentagon ครับ
Aircraft carrier USS Gerald R Ford is slated for sea trials. Source: US Navy
https://www.janes.com/article/92153/ford-set-for-sea-trials
Carrier Ford gets underway for trials
https://www.janes.com/article/92192/carrier-ford-gets-underway-for-trials
As Ford finishes trials, USN considers JFK delivery changes
https://www.janes.com/article/92201/as-ford-finishes-trials-usn-considers-jfk-delivery-changes
เรือบรรทุกเครื่องบินพลังงานนิวเคลียร์ CVN-78 USS Gerald R Ford ได้เสร็จสิ้นการประเมินค่าการเดินเรือด้วยความเร็วหน้าท่าเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2019 ณ อู่เรือ Newport News Shipbuilding(NNS) ของบริษัท Huntington Ingalls Industries
เพื่อช่วยในการเตรียมเรือสำหรับกำหนดการทดลองเรือในทะเลที่กำลังมีขึ้นตามมาในเดือนตุลาคมนี้ ทางการกองทัพเรือสหรัฐฯ(USN: US Navy) ยืนยัน
การเดินเรือเร็ว(fast cruise) เป็นการประเมินค่าการฝึกครั้งสุดท้ายที่ออกแบบเพื่อ "ทำให้ Ford มีชีวิต" หลังจากที่เรือผ่านระดับความพร้อม Post-Shakedown Availability(PSA) เมื่อ 15เดือนก่อน
"ขณะที่อยู่ในอู่เรือ Newport News กำลังพลประจำเรือกำลังดำเนินการฝึกประจำสถานีรบ(General Quarters), ประเมินสถานีคนตกน้ำ(man overboard) และอื่นๆเหมือนปกติ" นาวาตรี Nick Devorak เจ้าหน้าการฝึกของเรือบรรทุกเครื่องบิน USS Gerald R Ford กล่าว
"ห้าวันสุดท้ายทำให้ทีมอุทิศช่วงเวลาเพื่อนำองค์ความรู้และทักษะต่างๆเพื่อทดสอบในการจำลองสภาพแวดล้อมในทะเล การประเมินค่าเช่นการเดินเรือเร็วเป็นสิ่งสำคัญเพราะทำให้กลาสีประจำเรือได้รับความคิดที่ถูกต้องก่อนนำเรือรบสู่ทะเล" นาวาตรี Devorak กล่าว
การเดินเรือเร็วมีขึ้นตามราวหนึ่งสัปดาห์หลังจากที่เรือบรรทุกเครื่องบิน Ford ได้เสร็จสิ้นการรับรองกำลังพลระยะที่3(Phase III Crew Certification) ซึ่งมุ่งเน้นที่การฝึกทีมทางการแพทย์และควบคุมความเสียหายของกำลังพลประจำเรือได้หรือไม่ ที่เป็นการฝึกที่จำเป็นต้องเสร็จสิ้นเพื่อเรือกลับสู่ทะเล
การทดสอบประเมินค่าสองวันของแต่ละทีมที่แยกจากกันต่างหาหรือร่วมกันเพื่อเพื่อประเมินความพร้อมของลูกเรือที่จะตอบสนองต่อความสูญเสียกำลังพลและความเสียหายต่อสิ่งอุปกรณ์ในทะเล
ความพร้อมระดับ PSA ถูกยืดออกไปถึงบางส่วนของเดือนตุลาคมเพื่อทำให้กองทัพเรือสหรัฐฯและอู่เรือ Newport News Shipbuilding มีเวลาเพิ่มเติมเพื่อทำงานแก้ไขปัญหา Lift ยกอาวุธ Advanced Weapons Elevator 11ตัวของเรือ
เรือบรรทุกเครื่องบิน USS Gerald R Ford ได้เริ่มต้นการทดลองเรือในทะเลตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2019 ในมหาสมุทรแอตแลนติก ห่างจากชายฝั่งมลรัฐ Virginia
ระหว่างการฝึกกำลังประจำเรือร่วมกับวิศวกรและคนงานอู่เรือ NNS จะนำอุปกรณ์ประจำเรือผ่านการปฏิบัติงานเพื่อทดสอบและพิสูจน์ความถูกต้องระบบต่างๆที่ได้รับการบำรุงรักษาหรือดัดแปลงระหว่างการขยายการซ่อมบำรุงในช่วง PSA
ระหว่างช่วง PSA อู่เรือ NNS ได้ติดตั้งอุปกรณ์ระบบการรบ, ปรับปรุงระบบควบคุมคันเร่ง, ซ่อมส่วนประกอบระบบขับเคลื่อน และแก้ไขความคลาดเคลื่อนต่างๆที่ถูกระบุในการทดสอบก่อนหน้า อู่เรือเสร็จสิ้นการจัดพื้นที่ในเรือ 304แห่ง และเสร็จสิ้นงานเพื่อการรับรอง lift AWE สี่ตัว
คนงานของอู่เรือ NNS ยังปรับปรุงเครื่องหมุนน้ำ water twister ของระบบหยุดอากาศยานที่ลงจอดบนเรือ AAG(Advanced Arresting Gear) และตกแต่งห้องครัวประจำเรือ(galley) ทั้งหมดอย่างเต็มรูปแบบ
กองทัพเรือสหรัฐฯยังกำลังพิจารณาการเปลี่ยนแผนการส่งมอบสำหรับเรือบรรทุกเครื่องบินชั้น Gerald R Ford ลำที่สอง CVN-79 USS John F. Kennedy "เรากำลังมองไปยัง CVN-79 ใหม่ บนพื้นฐานว่าอะไรที่เราเรียนรู้จาก CVN-78
ว่าอะไรคือหนทางที่มีประสิทธิภาพที่สุดเพื่อส่งมอบเรือบรรทุกเครื่องบินชั้น Ford" James Geurts ผู้ช่วยรัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯฝ่ายการวิจัย, พัฒนา และจัดหากองทัพเรือสหรัฐฯ กล่าวกับสื่อที่การบรรยายสรุป ณ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ Pentagon ครับ
วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2562
เกาหลีใต้เปิดตัวแบบแผนเรือดำน้ำ DSME 2000 สำหรับส่งออก
MADEX 2019: DSME unveils new submarine design for export market
DSME’s new diesel-electric attack submarine concept targeted for the export market, DSME 2000. (IHS Markit/M Boruah)
https://www.janes.com/article/92161/madex-2019-dsme-unveils-new-submarine-design-for-export-market
บริษัท Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering(DSME) สาธารณรัฐเกาหลีได้แสดงแนวคิดแบบแผนเรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้า(SSK) แบบใหม่ DSME 2000
เป็นครั้งแรกในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทะเลนานาชาติ International Maritime Defense Industry Exhibition(MADEX 2019) ใน Busan สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 22-25 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
แบบแผนเรือดำน้ำ DSME 2000 ถูกวางเป้าหมายผลิตภัณฑ์สำหรับตลาดส่งออกต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(https://aagth1.blogspot.com/2019/04/nagapasa-3.html) และอเมริกาใต้
มีระวางขับน้ำขณะดำใต้น้ำที่ 2,180tonnes และน่าจะนำวิทยาการหลายๆอย่างที่พัฒนาโดยผู้ผลิตอุปกรณ์ของเกาหลีใต้ที่ถูกนำมาใช้สำหรับโครงการเรือดำน้ำ KSS-3 หรือเรือดำน้ำชั้น Dosan Ahn Changho(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/kss-iii-ss-083-dosan-ahn-chang-ho.html)
งานออกแบบขั้นต้นของเรือดำน้ำ DSME 2000 ได้เสร็จสิ้นในเดือนมกราคม 2019 แต่การปรับเปลี่ยนต่างๆในขั้นสุดท้ายสามารถที่จะปรับปรุงได้ตามความต้องการของลูกค้า
DSME 2000 เป็นเรือดำน้ำแบบตัวเรือชั้นเดียว(Single-Hulled) มีความยาวเรือ 71.1m และกว้าง 6.5m จะได้รับการติดตั้งแหล่งเก็บพลังงาน lithium-ion batteries และ AC Motor ขับเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับ รวมกับระบบขับเคลื่อนแบบไม่ใช้อากาศ AIP(Air-Independent Propulsion
เรือดำน้ำ DSME 2000 ถูกออกแบบให้รองรับรูปแบบเสายืดหดจากหอเรือแบบ 7เสาที่รวมถึงกล้องตรวจจับ Optronic, Radar, ระบบตรวจจับการแพร่คลื่นไฟฟ้า ESM(Electronic Support Measures),
ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม SATCOM(Satellite Communications), ท่อ Snorkel สำหรับรับอากาศเข้าเครื่องยนต์ดีเซลขณะดำใต้น้ำ และสายอากาศสื่อสารสองเสา
แบบจำลองเรือดำน้ำ DSME 2000 ที่นำมาแสดงในงาน MADEX 2019 ยังแสดงถึงคุณสมบัติการติดตั้ง Sonar ลากท้ายส่วนท้ายเรือ โดยหัวเรือติดตั้งตัวตรวจจับเสียงใต้น้ำ Hydrophone ทรงกระบอก
ชุดระบบตรวจจับยังประกอบด้วย Sonar ตรวจับสกัดกั้นและวัดระยะ, ระบบวิเคราะห์เสียง, Sonar ข้างตัวเรือ(Flank Array Sonar), Sonar เชิงรับ(Passive Sonar)สำหรับวัดระยะ และ Sonar เชิงรุก(Active Sonar)
เรือดำน้ำ DSME 2000 มีความเร็วสูงสุดขณะดำใต้น้ำที่ 20knots และมีความเร็วสูงสุดที่ผิวน้ำ 10knots มีพิสัยทำการไกลสุด 10,000nmi ที่ความเร็วมัธยัสถ์ มีกำลังพลประจำเรือ 40นาย และสามารถรองรับหน่วยปฏิบัติการพิเศษไปกับเรือได้อีก 10นาย
แบบจำลองของเรือแสดงให้เห็นถึงท่อยิง Torpedo หนักขนาด 553mm จำนวน 8ท่อยิง รองรับ Torpdeo ได้รวมทั้งหมด 16นัด(8นัดในท่อยิง+8นัดสำรอง) และมีความยืดหยุ่นในการปรับตั้งรูปแบบระบบอาวุธยิงประจำเรือตามความต้องการของลูกค้าครับ
DSME’s new diesel-electric attack submarine concept targeted for the export market, DSME 2000. (IHS Markit/M Boruah)
https://www.janes.com/article/92161/madex-2019-dsme-unveils-new-submarine-design-for-export-market
บริษัท Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering(DSME) สาธารณรัฐเกาหลีได้แสดงแนวคิดแบบแผนเรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้า(SSK) แบบใหม่ DSME 2000
เป็นครั้งแรกในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทะเลนานาชาติ International Maritime Defense Industry Exhibition(MADEX 2019) ใน Busan สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 22-25 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
แบบแผนเรือดำน้ำ DSME 2000 ถูกวางเป้าหมายผลิตภัณฑ์สำหรับตลาดส่งออกต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(https://aagth1.blogspot.com/2019/04/nagapasa-3.html) และอเมริกาใต้
มีระวางขับน้ำขณะดำใต้น้ำที่ 2,180tonnes และน่าจะนำวิทยาการหลายๆอย่างที่พัฒนาโดยผู้ผลิตอุปกรณ์ของเกาหลีใต้ที่ถูกนำมาใช้สำหรับโครงการเรือดำน้ำ KSS-3 หรือเรือดำน้ำชั้น Dosan Ahn Changho(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/kss-iii-ss-083-dosan-ahn-chang-ho.html)
งานออกแบบขั้นต้นของเรือดำน้ำ DSME 2000 ได้เสร็จสิ้นในเดือนมกราคม 2019 แต่การปรับเปลี่ยนต่างๆในขั้นสุดท้ายสามารถที่จะปรับปรุงได้ตามความต้องการของลูกค้า
DSME 2000 เป็นเรือดำน้ำแบบตัวเรือชั้นเดียว(Single-Hulled) มีความยาวเรือ 71.1m และกว้าง 6.5m จะได้รับการติดตั้งแหล่งเก็บพลังงาน lithium-ion batteries และ AC Motor ขับเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับ รวมกับระบบขับเคลื่อนแบบไม่ใช้อากาศ AIP(Air-Independent Propulsion
เรือดำน้ำ DSME 2000 ถูกออกแบบให้รองรับรูปแบบเสายืดหดจากหอเรือแบบ 7เสาที่รวมถึงกล้องตรวจจับ Optronic, Radar, ระบบตรวจจับการแพร่คลื่นไฟฟ้า ESM(Electronic Support Measures),
ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม SATCOM(Satellite Communications), ท่อ Snorkel สำหรับรับอากาศเข้าเครื่องยนต์ดีเซลขณะดำใต้น้ำ และสายอากาศสื่อสารสองเสา
แบบจำลองเรือดำน้ำ DSME 2000 ที่นำมาแสดงในงาน MADEX 2019 ยังแสดงถึงคุณสมบัติการติดตั้ง Sonar ลากท้ายส่วนท้ายเรือ โดยหัวเรือติดตั้งตัวตรวจจับเสียงใต้น้ำ Hydrophone ทรงกระบอก
ชุดระบบตรวจจับยังประกอบด้วย Sonar ตรวจับสกัดกั้นและวัดระยะ, ระบบวิเคราะห์เสียง, Sonar ข้างตัวเรือ(Flank Array Sonar), Sonar เชิงรับ(Passive Sonar)สำหรับวัดระยะ และ Sonar เชิงรุก(Active Sonar)
เรือดำน้ำ DSME 2000 มีความเร็วสูงสุดขณะดำใต้น้ำที่ 20knots และมีความเร็วสูงสุดที่ผิวน้ำ 10knots มีพิสัยทำการไกลสุด 10,000nmi ที่ความเร็วมัธยัสถ์ มีกำลังพลประจำเรือ 40นาย และสามารถรองรับหน่วยปฏิบัติการพิเศษไปกับเรือได้อีก 10นาย
แบบจำลองของเรือแสดงให้เห็นถึงท่อยิง Torpedo หนักขนาด 553mm จำนวน 8ท่อยิง รองรับ Torpdeo ได้รวมทั้งหมด 16นัด(8นัดในท่อยิง+8นัดสำรอง) และมีความยืดหยุ่นในการปรับตั้งรูปแบบระบบอาวุธยิงประจำเรือตามความต้องการของลูกค้าครับ
วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2562
เกาหลีใต้ตั้งเป้าใช้ Tiger Shark torpedo กับเรือดำน้ำตนในปี 2020
MADEX 2019: South Korea aims to deploy Tiger Shark torpedo by 2020
A mock-up of the Tiger Shark heavyweight torpedo on display at MADEX 2019 (IHS Markit/M.Boruah)
https://www.janes.com/article/92138/madex-2019-south-korea-aims-to-deploy-tiger-shark-torpedo-by-2020
กองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี(ROKN: Republic of Korea Navy) คาดว่าจะสามารถวางกำลัง Torpedo หนักแบบ Tiger Shark กับเรือดำน้ำของตนได้ภายในปี 2020 หน่วยงานรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีกล่าวกับ Jane's
Tiger Shark torpedo ได้รับการออกแบบสำหรับเรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้าชั้น Son Won-il หรือโครงการ KSS-2(Type 214) และเรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้าชั้น Dosan Ahn Changho หรือโครงการ KSS-3(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/kss-iii-ss-083-dosan-ahn-chang-ho.html)
แบบจำลองขนาดเท่าของจริงของ Tiger Shark torpedo ถูกนำมาจัดแสดงในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทะเลนานาชาติ International Maritime Defense Industry Exhibition(MADEX 2019) ใน Busan ระหว่างวันที่ 22-25 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
แนวคิดของ Tiger Shark torpedo ถูกนำเสนอเป็นครั้งแรกโดยบริษัท LIG Nex1 สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทะเลนานาชาติ MADEX 2017 เมื่อสองปีก่อนหน้า
สำนักงานการพัฒนาทางกลาโหมสาธารณรัฐเกาหลี(ADD: Agency for Defense Development) กล่าว่าการทดสอบเพื่อยอมรับโดยกองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลีได้มีขึ้นในปี 2018 และการผลิตเช่นเดียวกับการวางกำลังในเรือดำน้ำกองทัพเรือเกาหลีใต้คาดว่าจะเป็นภายในปี 2020
Tiger Shark เป็น torpedo หนักที่ออกแบบมาเพื่อโจมตีเรือผิวน้ำข้าศึกจากระยะไกลและมีคุณสมบัติเพิ่มขยายขีดความสามารถด้านความเร็วและการประมวลผลเหนือกว่า torpedo หนักรุ่นก่อนคือ White Shark
Tiger Shark torpedo นำวิถีด้วยเส้นลวด(wire-guided) ได้รับการติดตั้ง Sonar แบบเชิงรับและเชิงรุก และขีดความสามารถการนำวิถีด้วยพลิ้วคลื่น(wake-homing)
ตามข้อมูลจาก LIG Nex1 เกาหลีใต้ ตัวตรวจจับสัญญาณ conformal transducer array มีขีดความสามารถในตรวจจับที่มุมแนวนอนมากกว่า +/-100องศา และมุมแนวตั้งราว +/-20องศา
ระบบนำร่องของ Tiger Shark torpedo ได้ใช้ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย(INS: Inertial Navigation System) ผ่านสาย fibre-optic ใช้งานกับท่อยิง Torpedo 553mm มาตรฐาน มีความยาว 7.1m และหนัก 1.7tonnes
ติดตั้งหัวรบระเบิด PBX(Plastic-Bonded Explosive) ขนาด 260kg โดยใช้ตัวจุดชนวนแบบอิทธิพลแม่เหล็ก(magnetic influence fuse) และกระทบแตก(contact fuse) ครับ
A mock-up of the Tiger Shark heavyweight torpedo on display at MADEX 2019 (IHS Markit/M.Boruah)
https://www.janes.com/article/92138/madex-2019-south-korea-aims-to-deploy-tiger-shark-torpedo-by-2020
กองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี(ROKN: Republic of Korea Navy) คาดว่าจะสามารถวางกำลัง Torpedo หนักแบบ Tiger Shark กับเรือดำน้ำของตนได้ภายในปี 2020 หน่วยงานรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีกล่าวกับ Jane's
Tiger Shark torpedo ได้รับการออกแบบสำหรับเรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้าชั้น Son Won-il หรือโครงการ KSS-2(Type 214) และเรือดำน้ำโจมตีดีเซล-ไฟฟ้าชั้น Dosan Ahn Changho หรือโครงการ KSS-3(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/kss-iii-ss-083-dosan-ahn-chang-ho.html)
แบบจำลองขนาดเท่าของจริงของ Tiger Shark torpedo ถูกนำมาจัดแสดงในงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทะเลนานาชาติ International Maritime Defense Industry Exhibition(MADEX 2019) ใน Busan ระหว่างวันที่ 22-25 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
แนวคิดของ Tiger Shark torpedo ถูกนำเสนอเป็นครั้งแรกโดยบริษัท LIG Nex1 สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ทางทะเลนานาชาติ MADEX 2017 เมื่อสองปีก่อนหน้า
สำนักงานการพัฒนาทางกลาโหมสาธารณรัฐเกาหลี(ADD: Agency for Defense Development) กล่าว่าการทดสอบเพื่อยอมรับโดยกองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลีได้มีขึ้นในปี 2018 และการผลิตเช่นเดียวกับการวางกำลังในเรือดำน้ำกองทัพเรือเกาหลีใต้คาดว่าจะเป็นภายในปี 2020
Tiger Shark เป็น torpedo หนักที่ออกแบบมาเพื่อโจมตีเรือผิวน้ำข้าศึกจากระยะไกลและมีคุณสมบัติเพิ่มขยายขีดความสามารถด้านความเร็วและการประมวลผลเหนือกว่า torpedo หนักรุ่นก่อนคือ White Shark
Tiger Shark torpedo นำวิถีด้วยเส้นลวด(wire-guided) ได้รับการติดตั้ง Sonar แบบเชิงรับและเชิงรุก และขีดความสามารถการนำวิถีด้วยพลิ้วคลื่น(wake-homing)
ตามข้อมูลจาก LIG Nex1 เกาหลีใต้ ตัวตรวจจับสัญญาณ conformal transducer array มีขีดความสามารถในตรวจจับที่มุมแนวนอนมากกว่า +/-100องศา และมุมแนวตั้งราว +/-20องศา
ระบบนำร่องของ Tiger Shark torpedo ได้ใช้ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย(INS: Inertial Navigation System) ผ่านสาย fibre-optic ใช้งานกับท่อยิง Torpedo 553mm มาตรฐาน มีความยาว 7.1m และหนัก 1.7tonnes
ติดตั้งหัวรบระเบิด PBX(Plastic-Bonded Explosive) ขนาด 260kg โดยใช้ตัวจุดชนวนแบบอิทธิพลแม่เหล็ก(magnetic influence fuse) และกระทบแตก(contact fuse) ครับ
วันเสาร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2562
Airbus ให้ความสำคัญการขายเครื่องบินลำเลียง A400M ในเอเชีย-แปซิฟิก
Airbus prioritises A400M in Asia-Pacific region
A Royal Malaysian Air Force A400M
Airbus Defence & Space sees the A400M tactical transport as its top sales priority in the Asia-Pacific region, while also eyeing opportunities for tankers and support aircraft.
https://www.flightglobal.com/news/articles/airbus-prioritises-a400m-in-asia-pacific-region-461785/
บริษัท Airbus Defence & Space ยุโรปมองเครื่องบินลำเลียงหนักทางยุทธวิธีสี่เครื่องยนต์ใบพัด Airbus A400M Atlas ในฐานะการขายที่มีลำดับความสำคัญสูงของตนภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ขณะที่ยังมองโอกาสสำหรับความต้องการเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศและสนับสนุน
Johan Pelissier หัวหน้าแผนกเอเชีย-แปซิฟิกของ Airbus DS กล่าวว่าสองตลาดที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดสำหรับ A400M คือสาธารณรัฐเกาหลีและอินโดนีเซีย
"ผมมองเห็นความแน่นอนในความสนใจที่เพิ่มขึ้นจากทางเกาหลีใต้ในการสั่งจัดหาเพื่อให้ตรงความต้องการในอนาคต" Pelissier ชี้ให้เห็นว่ากองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force)
มีโอกาสที่จะได้เห็นเครื่องบินลำเลียง A400M ในการปฏิบัติการโดยผู้ใช้งานรายอื่นระหว่างภารกิจด้านมนุษยธรรมในภูมิภาค และกล่าวว่า A400M จะเติมเต็มเพื่อแทนเครื่องบินลำเลียง Lockheed Martin C-130H ที่กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลีมีอยู่ 12เครื่องอายุการใช้งานเฉลี่ย 31.4ปี
จนถึงตอนนี้ลูกค้าในเอเชีย-แปซิฟิกสำหรับเครื่องบินลำเลียง A400M มีเพียงรายเดียวคือกองทัพอากาศมาเลเซีย(RMAF: Royal Malaysian Air Force, TUDM: Tentera Udara Diraja Malaysia) ซึ่งมีประจำการ 4เครื่อง
"A400M สามารถให้น้ำหนักบรรทุกเป็นสองเท่าในพิสัยการบินระยะทางเดียวกัน หรือมีพิสัยการบินเป็นสองเท่าในน้ำหนักบรรทุกเท่ากัน พิสัยทำการและการบรรทุกเป็นที่สนใจอย่างแท้จริงสำหรับลูกค้าที่เป็นไปได้ มันยังทำภารกิจที่เป็นไปไม่ได้ในทุกวันนี้ด้วย" Pelissier กล่าว
Pelissier ได้ให้ข้อสังเกตนี้ระหว่างการพูดคุยร่วมโต๊ะต่อสื่อในงานแสดงการบินและอาวุธยุทโธปกรณ์นานาชาติ ADEX 2019(Seoul International Aerospace and Defense Exhibition) ระหว่างวันที่ 15-20 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
FlightGlobal เข้าใจว่ากำลังมีการหารือระหว่างรัฐบาลสเปนและเกาหลีใต้สำหรับความเป็นไปได้ในการแลกเปลี่ยน A400M กับเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า Korea Aerospace Industries(KAI) T-50 และเครื่องบินฝึกใบพัด KT-1 อย่างไรก็ตาม Pelissier ปฏิเสธที่จะให้ความเห็นในเรื่องนี้
มีการแสดงข้อมูลว่า กองทัพอากาศสเปน(Spanish Air Force) มีเครื่องบินลำเลียง A400M ประจำการ 5เครื่องโดยมี 22เครื่องที่กำลังอยู่ระหว่างการจัดหา และยังมีเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า CASA C-101 จำนวน 63เครื่องที่มีอายุการใช้งานเฉลี่ยที่ 37.5ปี
อากาศยานแบบอื่นของกองทัพอากาศสเปนที่ใช้ในบทบาทเดียวกันรวมถึงเครื่องบินขับไล่สองที่นั่ง Northrop F-5M ที่ผลิตโดย CASA สเปน 19เครื่องที่มีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50.3ปี กองทัพอากาศสเปนยังมีเครื่องบินฝึกใบพัด ENAER T-35 ชิลีจำนวน 34เครื่องด้วย
ในอินโดนีเซียมีการดำเนินการเจรจาสำหรับการจัดหาเครื่องบินลำเลียง A400M จำนวน 2เครื่องที่จะนำมาใช้งานโดยสายการบิน PT Pelita Air Service ของรัฐบาลอินโดนีเซีย
ในเดือนมีนาคม 2017 บริษัท Airbus และอินโดนีเซียได้ลงนามจดหมายแสดงความจำนง(LOI: Letter of Intent) สำหรับความเป็นไปได้ในการจัดหานี้(https://aagth1.blogspot.com/2017/01/airbus-a400m-5.html)
"(รัฐบาลอินโดนีเซีย)แสดงความสนใจอย่างมากในการมีเครื่องบินลำเลียงที่สามารถบินจาก Java ไปยังส่วนไกลสุดของอินโดนีเซีย เช่น Papua เพื่อลำเลียงส่งมอบสินค้าจำนวนมาก
นั่นคือเป้าหมายของโครงการ Air Bridge นี้ เรายังกำลังหารืออยู่ แต่ผมไม่สามารถให้รายละเอียดได้" Pelissier กล่าว(https://aagth1.blogspot.com/2018/03/airbus-a400m.html)
สำหรับเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ A330 Multi-Role Tanker Transport(MRTT) Pelissier เชื่อว่าในระยะยาวเกาหลีใต้และออสเตรเลียน่าจะสั่งจัดหาเพิ่มเติมจากเครื่องที่ตนมีอยู่
กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลีได้สั่งจัดหาเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ A330 MRTT จำนวน 4เครื่อง โดยเครื่องสุดท้ายเครื่องที่สี่จะเดินทางมาถึงเกาหลีใต้ในเดือนธันวาคม 2019
ขณะที่กองทัพอากาศออสเตรเลีย(RAAF: Royal Australian Air Force) มีเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ A330 MRTT จำนวน 7เครื่อง Pelissier กล่าวว่า บ.Tanker ที่มากขึ้นจะมีความจำเป็น
ในการสนับสนุนจำนวนเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35A Lightning II ที่เข้าประจำการเพิ่มขึ้นของทั้งเกาหลีใต้(https://aagth1.blogspot.com/2019/10/f-35a.html) และออสเตรเลีย(https://aagth1.blogspot.com/2018/04/f-35a.html)
Airbus ยังกำลังส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เครื่องบินลำเลียงขนาดกลางทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด C295 ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกสำหรับภารกิจการตรวจการณ์และลาดตระเวนทางทะเล(https://aagth1.blogspot.com/2017/07/airbus-c295.html)
และยังเสนอการปรับปรุงครึ่งอายุการใช้งาน(MLU: Mid-Life Upgrade) สำหรับเครื่องบินลำเลียงขนาดกลางทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด CN235 กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี 20เครื่องด้วยครับ
A Royal Malaysian Air Force A400M
Airbus Defence & Space sees the A400M tactical transport as its top sales priority in the Asia-Pacific region, while also eyeing opportunities for tankers and support aircraft.
https://www.flightglobal.com/news/articles/airbus-prioritises-a400m-in-asia-pacific-region-461785/
บริษัท Airbus Defence & Space ยุโรปมองเครื่องบินลำเลียงหนักทางยุทธวิธีสี่เครื่องยนต์ใบพัด Airbus A400M Atlas ในฐานะการขายที่มีลำดับความสำคัญสูงของตนภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ขณะที่ยังมองโอกาสสำหรับความต้องการเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศและสนับสนุน
Johan Pelissier หัวหน้าแผนกเอเชีย-แปซิฟิกของ Airbus DS กล่าวว่าสองตลาดที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดสำหรับ A400M คือสาธารณรัฐเกาหลีและอินโดนีเซีย
"ผมมองเห็นความแน่นอนในความสนใจที่เพิ่มขึ้นจากทางเกาหลีใต้ในการสั่งจัดหาเพื่อให้ตรงความต้องการในอนาคต" Pelissier ชี้ให้เห็นว่ากองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force)
มีโอกาสที่จะได้เห็นเครื่องบินลำเลียง A400M ในการปฏิบัติการโดยผู้ใช้งานรายอื่นระหว่างภารกิจด้านมนุษยธรรมในภูมิภาค และกล่าวว่า A400M จะเติมเต็มเพื่อแทนเครื่องบินลำเลียง Lockheed Martin C-130H ที่กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลีมีอยู่ 12เครื่องอายุการใช้งานเฉลี่ย 31.4ปี
จนถึงตอนนี้ลูกค้าในเอเชีย-แปซิฟิกสำหรับเครื่องบินลำเลียง A400M มีเพียงรายเดียวคือกองทัพอากาศมาเลเซีย(RMAF: Royal Malaysian Air Force, TUDM: Tentera Udara Diraja Malaysia) ซึ่งมีประจำการ 4เครื่อง
"A400M สามารถให้น้ำหนักบรรทุกเป็นสองเท่าในพิสัยการบินระยะทางเดียวกัน หรือมีพิสัยการบินเป็นสองเท่าในน้ำหนักบรรทุกเท่ากัน พิสัยทำการและการบรรทุกเป็นที่สนใจอย่างแท้จริงสำหรับลูกค้าที่เป็นไปได้ มันยังทำภารกิจที่เป็นไปไม่ได้ในทุกวันนี้ด้วย" Pelissier กล่าว
Pelissier ได้ให้ข้อสังเกตนี้ระหว่างการพูดคุยร่วมโต๊ะต่อสื่อในงานแสดงการบินและอาวุธยุทโธปกรณ์นานาชาติ ADEX 2019(Seoul International Aerospace and Defense Exhibition) ระหว่างวันที่ 15-20 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
FlightGlobal เข้าใจว่ากำลังมีการหารือระหว่างรัฐบาลสเปนและเกาหลีใต้สำหรับความเป็นไปได้ในการแลกเปลี่ยน A400M กับเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า Korea Aerospace Industries(KAI) T-50 และเครื่องบินฝึกใบพัด KT-1 อย่างไรก็ตาม Pelissier ปฏิเสธที่จะให้ความเห็นในเรื่องนี้
มีการแสดงข้อมูลว่า กองทัพอากาศสเปน(Spanish Air Force) มีเครื่องบินลำเลียง A400M ประจำการ 5เครื่องโดยมี 22เครื่องที่กำลังอยู่ระหว่างการจัดหา และยังมีเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า CASA C-101 จำนวน 63เครื่องที่มีอายุการใช้งานเฉลี่ยที่ 37.5ปี
อากาศยานแบบอื่นของกองทัพอากาศสเปนที่ใช้ในบทบาทเดียวกันรวมถึงเครื่องบินขับไล่สองที่นั่ง Northrop F-5M ที่ผลิตโดย CASA สเปน 19เครื่องที่มีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50.3ปี กองทัพอากาศสเปนยังมีเครื่องบินฝึกใบพัด ENAER T-35 ชิลีจำนวน 34เครื่องด้วย
ในอินโดนีเซียมีการดำเนินการเจรจาสำหรับการจัดหาเครื่องบินลำเลียง A400M จำนวน 2เครื่องที่จะนำมาใช้งานโดยสายการบิน PT Pelita Air Service ของรัฐบาลอินโดนีเซีย
ในเดือนมีนาคม 2017 บริษัท Airbus และอินโดนีเซียได้ลงนามจดหมายแสดงความจำนง(LOI: Letter of Intent) สำหรับความเป็นไปได้ในการจัดหานี้(https://aagth1.blogspot.com/2017/01/airbus-a400m-5.html)
"(รัฐบาลอินโดนีเซีย)แสดงความสนใจอย่างมากในการมีเครื่องบินลำเลียงที่สามารถบินจาก Java ไปยังส่วนไกลสุดของอินโดนีเซีย เช่น Papua เพื่อลำเลียงส่งมอบสินค้าจำนวนมาก
นั่นคือเป้าหมายของโครงการ Air Bridge นี้ เรายังกำลังหารืออยู่ แต่ผมไม่สามารถให้รายละเอียดได้" Pelissier กล่าว(https://aagth1.blogspot.com/2018/03/airbus-a400m.html)
สำหรับเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ A330 Multi-Role Tanker Transport(MRTT) Pelissier เชื่อว่าในระยะยาวเกาหลีใต้และออสเตรเลียน่าจะสั่งจัดหาเพิ่มเติมจากเครื่องที่ตนมีอยู่
กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลีได้สั่งจัดหาเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ A330 MRTT จำนวน 4เครื่อง โดยเครื่องสุดท้ายเครื่องที่สี่จะเดินทางมาถึงเกาหลีใต้ในเดือนธันวาคม 2019
ขณะที่กองทัพอากาศออสเตรเลีย(RAAF: Royal Australian Air Force) มีเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ A330 MRTT จำนวน 7เครื่อง Pelissier กล่าวว่า บ.Tanker ที่มากขึ้นจะมีความจำเป็น
ในการสนับสนุนจำนวนเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35A Lightning II ที่เข้าประจำการเพิ่มขึ้นของทั้งเกาหลีใต้(https://aagth1.blogspot.com/2019/10/f-35a.html) และออสเตรเลีย(https://aagth1.blogspot.com/2018/04/f-35a.html)
Airbus ยังกำลังส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เครื่องบินลำเลียงขนาดกลางทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด C295 ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกสำหรับภารกิจการตรวจการณ์และลาดตระเวนทางทะเล(https://aagth1.blogspot.com/2017/07/airbus-c295.html)
และยังเสนอการปรับปรุงครึ่งอายุการใช้งาน(MLU: Mid-Life Upgrade) สำหรับเครื่องบินลำเลียงขนาดกลางทางยุทธวิธีสองเครื่องยนต์ใบพัด CN235 กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี 20เครื่องด้วยครับ
วันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2562
Airbus Helicopters ส่งมอบเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล NH90 Sea Lion เครื่องแรกแก่เยอรมนี
Airbus Helicopters delivers first NH90 Sea Lion to the German Armed Forces
Airbus Helicopters has delivered the first NH90 Sea Lion naval multi-role helicopter to the Federal Office of Bundeswehr Equipment, Information Technology and In-Service Support (BAAINBw), with a further two to be delivered by the end of the year.
https://www.airbus.com/newsroom/press-releases/en/2019/10/airbus-helicopters-delivers-first-nh90-sea-lion-to-the-german-armed-forces.html
บริษัท Airbus Helicopters ยุโรปได้ส่งมอบเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเลพหุภารกิจ NHIndustries NH90 Sea Lion เครื่องแรกสำหรับกองทัพเรือเยอรมนี(German Navy, DM: Deutsche Marine)
แก่สำนักงานยุทโธปกรณ์, ข้อมูล, วิทยาการ และการสนับสนุนระหว่างประจำการกองทัพสหพันธรัฐเยอรมนี(BAAINBw) โดยเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล NH90 Sea Lion เพิ่มเติมอีกสองเครื่องจะถูกส่งมอบภายในสิ้นปี 2019 นี้
เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล NH90 Sea Lion รวมทั้งหมด 18เครื่องที่ได้รับการสั่งจัดหาสำหรับกองทัพเรือเยอรมันคาดว่าการส่งมอบจะเสร็จสิ้นครบทุกเครื่องภายในปี 2022
เฮลิคอปเตอร์ Sea Lion ได้ถูกเลือกในเดือนมีนาคม 2013 เพื่อนำมาทดแทนเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Westland Mk 41 Sea King ที่ประจำการในกองทัพเรือเยอรมนี และสัญญาจัดหาได้รับการลงนามในเดือนมิถุนายน 2015
"ผมภูมิใจในทีมของเราผู้ซึ่งทำงานอย่างหนักเพื่อให้ตรงความต้องการกำหนดการส่งมอบของลูกค้าเรา ซึ่งการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องของพวกเขายังเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มันเกิดขึ้น"
Wolfgang Schoder ผู้อำนวยการบริหารบริษัท Airbus Helicopters Deutschland กล่าว ณ โรงงานอากาศยานของ Airbus Helicopters สาขาเยอรมนีใน Donauwörth เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
"ระหว่างฤดูร้อน เราประสบความสำเร็จในการเสร็จสิ้นการสาธิตการบินที่กองทัพเรือเยอรมนีและ BAAINBw มีส่วนร่วมเพื่อรับรองขีดความสามารถ ฮ.Sea Lion สำหรับภารกิจค้นหาและกู้ภัย(SAR: Search and Rescue) เช่นเดียวกับภารกิจหน่วยรบพิเศษ
ผมมั่นใจว่าเฮลิคอปเตอร์เหล่านี้จะนำขีดความสามารถยุคหน้าให้แก่กองทัพเรือเยอรมนี และผมมุ่งมั่นเพื่อสร้างความมั่นใจต่อระดับการสนับสนุนที่ดีที่สุดสำหรับฝูงบิน ฮ.Sea Lion" Schoder กล่าว
เมื่อวางกำลัง ฮ.NH90 Sea Lion จะทำภารกิจในหลากหลายบทบาทรวมถึงการค้นหาและกู้ภัย, การลาดตระเวนทางทะเล, การสนับสนุนหน่วยรบพิเศษ เช่นเดียวกับการขนส่งกำลังพลและอมภัณฑ์
นอกเหนือจากการใช้ปฏิบัติการจากฐานบินบนฝั่ง เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Sea Lion ยังสามารถปฏิบัติการบนเรือสนับสนุนการรบแบบ Type 702(เรือส่งกำลังบำรุงชั้น Berlin) ทั้งสามลำคือ A1411 Berlin, A1412 Frankfurt am Main และ A1413 Bonn ได้ด้วย
ต้องขอบคุณขีดความสามารถพหุภารกิจที่เพิ่มมากขึ้น ฮ.Sea Lion ไม่เพียงแต่จะทดแทนฝูงบินเฮลิคอปเตอร์ Sea King Mk41 กองทัพเรือเยอรมนี แต่ยังเพิ่มขยายขีดความสามารถการปฏิบัติการที่สำคัญด้วย
ระบบควบคุมการบิน Fly-by-Wire ของ NH90 Sea Lion ช่วยลดภาระการทำงานของบินด้วยความแม่นยำสูงและง่ายต่อการใช้งาน ที่โดยเฉพาะยิ่งการบินลอยตัวเหนือผิวน้ำแม้แต่ในสภาพอากาศที่แย่ก็ตาม
ล่าสุดกองทัพเรือเยอรมนียังได้เลือก ฮ.NH90 รุ่นใช้งานทางทะเลเพื่อทดแทนเฮลิคอปเตอร์ประจำเรือผิวน้ำ Westland Sea Lynx Mk 88A จำนวน 22เครื่องที่ประจำการมาตั้งแต่ปี 1981(https://aagth1.blogspot.com/2019/08/nh90-sea-lynx.html)
มีห้าชาติที่ประจำการเฮลิคอปเตอร์ประจำเรือฟริเกต NH90 NFH(NATO Frigate Helicopter) และได้เสร็จสิ้นการบินในภารกิจค้นหากู้ภัย, การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และทางทหารรวมมากกว่า 50,000ชั่วโมงบินแล้ว โดยมีการส่งมอบแล้ว 90เครื่อง
เฮลิคอปเตอร์ตระกูล NH90 จำนวน 399เครื่องได้รับการสร้างขึ้นเพื่อประจำการในประเทศต่างๆทั่วโลกนั้นได้เสร็นสิ้นการทำการบินรวมเกิน 230,000ชั่วโมงบินแล้ว
และเฮลิคอปเตอร์ Sea Lion เครื่องแรกสำหรับกองทัพเรือเยอรมนีนี้ยังเป็นเฮลิคอปเตอร์ NH90 เครื่องที่ 400 ที่ถูกส่งมอบให้ลูกค้าด้วยครับ
Airbus Helicopters has delivered the first NH90 Sea Lion naval multi-role helicopter to the Federal Office of Bundeswehr Equipment, Information Technology and In-Service Support (BAAINBw), with a further two to be delivered by the end of the year.
https://www.airbus.com/newsroom/press-releases/en/2019/10/airbus-helicopters-delivers-first-nh90-sea-lion-to-the-german-armed-forces.html
บริษัท Airbus Helicopters ยุโรปได้ส่งมอบเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเลพหุภารกิจ NHIndustries NH90 Sea Lion เครื่องแรกสำหรับกองทัพเรือเยอรมนี(German Navy, DM: Deutsche Marine)
แก่สำนักงานยุทโธปกรณ์, ข้อมูล, วิทยาการ และการสนับสนุนระหว่างประจำการกองทัพสหพันธรัฐเยอรมนี(BAAINBw) โดยเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล NH90 Sea Lion เพิ่มเติมอีกสองเครื่องจะถูกส่งมอบภายในสิ้นปี 2019 นี้
เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล NH90 Sea Lion รวมทั้งหมด 18เครื่องที่ได้รับการสั่งจัดหาสำหรับกองทัพเรือเยอรมันคาดว่าการส่งมอบจะเสร็จสิ้นครบทุกเครื่องภายในปี 2022
เฮลิคอปเตอร์ Sea Lion ได้ถูกเลือกในเดือนมีนาคม 2013 เพื่อนำมาทดแทนเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Westland Mk 41 Sea King ที่ประจำการในกองทัพเรือเยอรมนี และสัญญาจัดหาได้รับการลงนามในเดือนมิถุนายน 2015
"ผมภูมิใจในทีมของเราผู้ซึ่งทำงานอย่างหนักเพื่อให้ตรงความต้องการกำหนดการส่งมอบของลูกค้าเรา ซึ่งการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องของพวกเขายังเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มันเกิดขึ้น"
Wolfgang Schoder ผู้อำนวยการบริหารบริษัท Airbus Helicopters Deutschland กล่าว ณ โรงงานอากาศยานของ Airbus Helicopters สาขาเยอรมนีใน Donauwörth เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
"ระหว่างฤดูร้อน เราประสบความสำเร็จในการเสร็จสิ้นการสาธิตการบินที่กองทัพเรือเยอรมนีและ BAAINBw มีส่วนร่วมเพื่อรับรองขีดความสามารถ ฮ.Sea Lion สำหรับภารกิจค้นหาและกู้ภัย(SAR: Search and Rescue) เช่นเดียวกับภารกิจหน่วยรบพิเศษ
ผมมั่นใจว่าเฮลิคอปเตอร์เหล่านี้จะนำขีดความสามารถยุคหน้าให้แก่กองทัพเรือเยอรมนี และผมมุ่งมั่นเพื่อสร้างความมั่นใจต่อระดับการสนับสนุนที่ดีที่สุดสำหรับฝูงบิน ฮ.Sea Lion" Schoder กล่าว
เมื่อวางกำลัง ฮ.NH90 Sea Lion จะทำภารกิจในหลากหลายบทบาทรวมถึงการค้นหาและกู้ภัย, การลาดตระเวนทางทะเล, การสนับสนุนหน่วยรบพิเศษ เช่นเดียวกับการขนส่งกำลังพลและอมภัณฑ์
นอกเหนือจากการใช้ปฏิบัติการจากฐานบินบนฝั่ง เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทางทะเล Sea Lion ยังสามารถปฏิบัติการบนเรือสนับสนุนการรบแบบ Type 702(เรือส่งกำลังบำรุงชั้น Berlin) ทั้งสามลำคือ A1411 Berlin, A1412 Frankfurt am Main และ A1413 Bonn ได้ด้วย
ต้องขอบคุณขีดความสามารถพหุภารกิจที่เพิ่มมากขึ้น ฮ.Sea Lion ไม่เพียงแต่จะทดแทนฝูงบินเฮลิคอปเตอร์ Sea King Mk41 กองทัพเรือเยอรมนี แต่ยังเพิ่มขยายขีดความสามารถการปฏิบัติการที่สำคัญด้วย
ระบบควบคุมการบิน Fly-by-Wire ของ NH90 Sea Lion ช่วยลดภาระการทำงานของบินด้วยความแม่นยำสูงและง่ายต่อการใช้งาน ที่โดยเฉพาะยิ่งการบินลอยตัวเหนือผิวน้ำแม้แต่ในสภาพอากาศที่แย่ก็ตาม
ล่าสุดกองทัพเรือเยอรมนียังได้เลือก ฮ.NH90 รุ่นใช้งานทางทะเลเพื่อทดแทนเฮลิคอปเตอร์ประจำเรือผิวน้ำ Westland Sea Lynx Mk 88A จำนวน 22เครื่องที่ประจำการมาตั้งแต่ปี 1981(https://aagth1.blogspot.com/2019/08/nh90-sea-lynx.html)
มีห้าชาติที่ประจำการเฮลิคอปเตอร์ประจำเรือฟริเกต NH90 NFH(NATO Frigate Helicopter) และได้เสร็จสิ้นการบินในภารกิจค้นหากู้ภัย, การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และทางทหารรวมมากกว่า 50,000ชั่วโมงบินแล้ว โดยมีการส่งมอบแล้ว 90เครื่อง
เฮลิคอปเตอร์ตระกูล NH90 จำนวน 399เครื่องได้รับการสร้างขึ้นเพื่อประจำการในประเทศต่างๆทั่วโลกนั้นได้เสร็นสิ้นการทำการบินรวมเกิน 230,000ชั่วโมงบินแล้ว
และเฮลิคอปเตอร์ Sea Lion เครื่องแรกสำหรับกองทัพเรือเยอรมนีนี้ยังเป็นเฮลิคอปเตอร์ NH90 เครื่องที่ 400 ที่ถูกส่งมอบให้ลูกค้าด้วยครับ
วันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562
เฮลิคอปเตอร์โจมตี Ka-52M รุ่นใหม่รัสเซียจะติดตั้ง AESA radar
Russia’s Ka-52M combat helicopter to receive AESA radar
Russia’s Ka-52M combat helicopter is to receive the V006 Rezets AESA radar. Source: Piotr Butowski
https://www.janes.com/article/92063/russia-s-ka-52m-combat-helicopter-to-receive-aesa-radar
https://saidpvo.livejournal.com
เฮลิคอปเตอร์โจมตี Kamov Ka-52M รุ่นใหม่ของรัสเซียจะได้รับการติดตั้งระบบตรวจจับชี้เป้าหมายแบบใหม่แทนการใช้รุ่นปรับปรุงของระบบตรวจจับที่ใช้อยู่เดิม
AESA(Active Electronically Scanned Array) radar ใหม่แบบ V006 Rezets(ภาษารัสเซียแปลว่า Cutter) กำลังได้รับการพัฒนาโดยบริษัท Zaslon ในมหานคร St Petersburg สำหรับเฮลิคอปเตอร์โจมตี Ka-52M รุ่นใหม่
AESA radar รุ่นทดสอบได้รับการติดตั้งกับเฮลิคอปเตอร์โจมตีรุ่นใช้งานทางทะเล Ka-52K ที่นำมาจัดแสดงในงานแสดงการบินนานาชาติ MASK 2019 ใน Zhukovskiy ใกล้นครหลวง Moscow เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม-1 กันยายน 2019 ที่ผ่านมา
Rezets radar สำหรับ ฮ.โจมตี Ka-52 มีจานสัญญาณ AESA ขนาด 900x300mm มีภาครับ transceiver modules 640หน่วย สามารถตรวจจับกลุ่มรถถังได้ที่ระยะ 45km, สะพานทางรถไฟที่ระยะ 100km และเรือรบระดับเรือพิฆาตที่ระยะ 150km ตามข้อมูลจากผู้ผลิต
ใน Mode อากาศสู่อากาศสามารถตรวจจับเครื่องบินขับไล่ที่มีภาคตัดขวาง radar(RCS: Radar Cross Section) ขนาด 3ตารางเมตรที่ระยะ 50km ในมุมกิ่งเข้า(head-on) และเฮลิคอปเตอร์ที่กำลังลอยตัวที่ระยะ 20km
Rezets radar มีน้ำหนัก 130kg หนักน้อยกว่า 10kg เมื่อเทียบกับ radar แบบ FH01 ที่ผลิตโดย Phazotron-NIIR ใน Moscow ที่ติดกับ Ka-52 ปัจจุบัน Rezets เป็น radar แบบระบายความร้อนด้วยอากาศโดยมีช่องดักอากาศ(air scoop)ที่เห็นได้จากส่วนหัวเฮลิคอปเตอร์
กล้องตรวจจับ Electro-Optical Sight แบบ OES-52 ใหม่ที่พัฒนาโดย NPK SPP ใน Moscow จะถูกนำมาแทนที่กล้อง EOS แบบ GOES-451 ที่พัฒนาโดย UOMZ แห่ง Yekaterinburg ที่ติดตั้งใน ฮ.โจมตี Ka-52 ปัจจุบัน
ตามข้อมูลจากสื่อรัสเซีย กล้อง OES-52 มีรูปทรงมาจากกล้องตรวจจับ Safran Strix ฝรั่งเศสที่ติดตั้งกับเฮลิคอปเตอร์โจมตี Tiger โดย OES-52 มีรูปแบบการทำงานเช่นเดียวกับกล้องตรวจจับ GOES-451 และมีระบบตรวจจับ 5ระบบประกอบด้วย
กล้องสร้างภาพความร้อน, กล้อง TV, Laser วัดระยะ/ชี้เป้าหมาย, Laser ไต่ลำสำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง เช่นเดียวกับ Laser ชี้ส่องวิถี อย่างไรก็ตามกล้อง OES-52 ใหม่มีน้ำหนัก 177kg เมื่อเทียบกับกล้อง GOES-451 ที่มีน้ำหนัก 220kg ครับ
Russia’s Ka-52M combat helicopter is to receive the V006 Rezets AESA radar. Source: Piotr Butowski
https://www.janes.com/article/92063/russia-s-ka-52m-combat-helicopter-to-receive-aesa-radar
https://saidpvo.livejournal.com
เฮลิคอปเตอร์โจมตี Kamov Ka-52M รุ่นใหม่ของรัสเซียจะได้รับการติดตั้งระบบตรวจจับชี้เป้าหมายแบบใหม่แทนการใช้รุ่นปรับปรุงของระบบตรวจจับที่ใช้อยู่เดิม
AESA(Active Electronically Scanned Array) radar ใหม่แบบ V006 Rezets(ภาษารัสเซียแปลว่า Cutter) กำลังได้รับการพัฒนาโดยบริษัท Zaslon ในมหานคร St Petersburg สำหรับเฮลิคอปเตอร์โจมตี Ka-52M รุ่นใหม่
AESA radar รุ่นทดสอบได้รับการติดตั้งกับเฮลิคอปเตอร์โจมตีรุ่นใช้งานทางทะเล Ka-52K ที่นำมาจัดแสดงในงานแสดงการบินนานาชาติ MASK 2019 ใน Zhukovskiy ใกล้นครหลวง Moscow เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม-1 กันยายน 2019 ที่ผ่านมา
Rezets radar สำหรับ ฮ.โจมตี Ka-52 มีจานสัญญาณ AESA ขนาด 900x300mm มีภาครับ transceiver modules 640หน่วย สามารถตรวจจับกลุ่มรถถังได้ที่ระยะ 45km, สะพานทางรถไฟที่ระยะ 100km และเรือรบระดับเรือพิฆาตที่ระยะ 150km ตามข้อมูลจากผู้ผลิต
ใน Mode อากาศสู่อากาศสามารถตรวจจับเครื่องบินขับไล่ที่มีภาคตัดขวาง radar(RCS: Radar Cross Section) ขนาด 3ตารางเมตรที่ระยะ 50km ในมุมกิ่งเข้า(head-on) และเฮลิคอปเตอร์ที่กำลังลอยตัวที่ระยะ 20km
Rezets radar มีน้ำหนัก 130kg หนักน้อยกว่า 10kg เมื่อเทียบกับ radar แบบ FH01 ที่ผลิตโดย Phazotron-NIIR ใน Moscow ที่ติดกับ Ka-52 ปัจจุบัน Rezets เป็น radar แบบระบายความร้อนด้วยอากาศโดยมีช่องดักอากาศ(air scoop)ที่เห็นได้จากส่วนหัวเฮลิคอปเตอร์
กล้องตรวจจับ Electro-Optical Sight แบบ OES-52 ใหม่ที่พัฒนาโดย NPK SPP ใน Moscow จะถูกนำมาแทนที่กล้อง EOS แบบ GOES-451 ที่พัฒนาโดย UOMZ แห่ง Yekaterinburg ที่ติดตั้งใน ฮ.โจมตี Ka-52 ปัจจุบัน
ตามข้อมูลจากสื่อรัสเซีย กล้อง OES-52 มีรูปทรงมาจากกล้องตรวจจับ Safran Strix ฝรั่งเศสที่ติดตั้งกับเฮลิคอปเตอร์โจมตี Tiger โดย OES-52 มีรูปแบบการทำงานเช่นเดียวกับกล้องตรวจจับ GOES-451 และมีระบบตรวจจับ 5ระบบประกอบด้วย
กล้องสร้างภาพความร้อน, กล้อง TV, Laser วัดระยะ/ชี้เป้าหมาย, Laser ไต่ลำสำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง เช่นเดียวกับ Laser ชี้ส่องวิถี อย่างไรก็ตามกล้อง OES-52 ใหม่มีน้ำหนัก 177kg เมื่อเทียบกับกล้อง GOES-451 ที่มีน้ำหนัก 220kg ครับ
ก้าวถึงสิบห้าล้านแล้วครับ!!!!!!!!!!!!!!!
ตั้งแต่ที่ทำ Blogspot มาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2013 จนล่าสุดเดือนตุลาคม 2019 นี้ยอดผู้ชมก็ก้าวมาถึงระดับเกิน 15ล้านรายแล้ว รวมเวลาที่ Blog นี้ทำมา 5ปี 11เดือน
ตั้งแต่ที่ Google ตัดสินใจปิดบริการ Google Plus นั้น Blog สูญเสียผู้ติดตามรวมมากกว่า 200ท่าน รวมถึงที่มีบางท่านแจ้งมาว่าตนไม่สามารถ Share Blog นี้ไปยัง Facebook ได้เนื่องจากมีผู้รายงานว่า Blog นี้ถูกใช้งานในทางที่ผิดตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2018 แล้วทำให้มีผู้ชมลดลงไปมาก
ซึ่งนักเขียนท่านหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายที่ไม่เป็นธรรมของ Facebook คือ พันจ่าอากาศเอก รัชต์ รัตนวิจารณ์ หรือนามปากกา 'ท้าวทองไหล'(http://rach1968.blogspot.com) ที่มีผลงานลงในนิตยสาร สงคราม สมรภูมิ Tango Topgun Aerospace ข่าวทหารอากาศ ฯลฯ
ที่บัญชีและ Page ได้ถูกลบออกไปทั้งหมดเนื่องจากมีผู้ไม่หวังดีรายงาน Facebook ว่าเป็นภัยต่อชุมชนและอาจจะเป็นสาเหตุของการก่อการร้าย(เพราะเหตุนี้ผู้เขียนถึงไม่ชอบ Mark Zuckerberg)
อย่างไรก็ตามผู้เขียนก็ต้องขอขอบพระคุณท่านผู้อ่านทุกท่านที่ยังติดตามกันมาตลอดตั้งแต่สมัย Exteen จนถึงปัจจุบันไว้ ณ ที่นี้ครับ
วันพุธที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2562
อินโดนีเซียมองจะจัดหาเครื่องบินลำเลียง C-130J กับสหรัฐฯ
Indonesia seeks C-130J deals with US
The Indonesian Air Force has identified a requirement to procure Lockheed Martin C-130J Hercules transport aircraft (pictured). Source: IHS Markit/Patrick Allen
https://www.janes.com/article/92092/indonesia-seeks-c-130j-deals-with-us
อินโดนีเซียกำลังมองที่จะบรรลุข้อตกลงกับรัฐบาลสหรัฐฯเพื่อการจัดหาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีสี่เครื่องยนต์ใบพัด Lockheed Martin C-130J Hercules
และเพื่อความร่วมมือด้านสิ่งอำนวยความสะดวกทางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับเครื่องบินลำเลียง C-130J กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียแถลง
กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียกล่าวในข่าวประชาสัมพันธ์ว่ามีความก้าวหน้าในทั้งสองหัวข้อในการประชุมที่นครหลวง Jakarta เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
ระหว่างเลขาธิการกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย Agus Setiadji และรักษาการรองผู้ช่วยรัฐมนตรีกลาโหมด้านเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สหรัฐฯ Christopher Johnston
"การประชุมมีการหารือด้านความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมกลาโหมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดหา C-130J Hercules นอกเหนือจากนี้
(กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย)หวังว่าในอนาคตสหรัฐฯสามารถช่วยเร่งขั้นตอนการจัดหา C-130J Hercules ได้" กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียกล่าว
Jane's เข้าใจว่าบริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯได้ตอบรับเอกสารขอข้อมูล(RFI: Request for Information) ที่ออกโดยกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียในกลางปี 2018
ในการสนับสนุนแผนเพื่อจะจัดหาเครื่องบินลำเลียงสำหรับกองทัพอากาศอินโดนีเซีย(Indonesian Air Force, TNI-AU: Tentara Nasional Indonesia-Angkatan Udara)
พลอากาศจัตวา Novyan Samyoga หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศของกองทัพอากาศอินโดนีเซียได้ยืนยันกับ Jane's ก่อนหน้านี้ว่า กองทัพอากาศอินโดนีเซียได้ระบุให้เครื่องบินลำเลียง C-130J เป็นการจัดหาที่มีลำดับความสำคัญต่อเครื่องบินลำเลียงบางส่วนที่มีอายุการใช้งานมานานที่ยังประจำการอยู่ ในการจัดหาระยะแรกคาดว่ากองทัพอากาศอินโดนีเซียจะจัดหาเครื่องบินลำเลียง C-130J จำนวน 5เครื่องถ้าได้รับงบประมาณเพียงพอ ปัจจุบันกองทัพอากาศอินโดนีเซียมีเครื่องบินลำเลียง C-130 รุ่นเก่าประจำการอยู่ราว 20เครื่อง โดยบางเครื่องเข้าประจำการมาตั้งแต่ปี 1960s
เมื่อปลายปี 2018 Richard Johnston ผู้อำนวยการฝ่ายการพัฒนาธุรกิจนานาชาติภายในแผนกภารกิจการเคลื่อนที่ทางอากาศและทางทะเลของ Lockheed Martin สหรัฐฯกล่าวกับ Jane's ว่า
บริษัทของสหรัฐฯได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับกองทัพอากาศอินโดนีเซียเกี่ยวกับความต้องการผ่าน "แผนงาน"(Roadmap) ที่วางแผนไว้แล้วครับ
The Indonesian Air Force has identified a requirement to procure Lockheed Martin C-130J Hercules transport aircraft (pictured). Source: IHS Markit/Patrick Allen
https://www.janes.com/article/92092/indonesia-seeks-c-130j-deals-with-us
อินโดนีเซียกำลังมองที่จะบรรลุข้อตกลงกับรัฐบาลสหรัฐฯเพื่อการจัดหาเครื่องบินลำเลียงทางยุทธวิธีสี่เครื่องยนต์ใบพัด Lockheed Martin C-130J Hercules
และเพื่อความร่วมมือด้านสิ่งอำนวยความสะดวกทางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับเครื่องบินลำเลียง C-130J กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียแถลง
กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียกล่าวในข่าวประชาสัมพันธ์ว่ามีความก้าวหน้าในทั้งสองหัวข้อในการประชุมที่นครหลวง Jakarta เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
ระหว่างเลขาธิการกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย Agus Setiadji และรักษาการรองผู้ช่วยรัฐมนตรีกลาโหมด้านเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สหรัฐฯ Christopher Johnston
"การประชุมมีการหารือด้านความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมกลาโหมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดหา C-130J Hercules นอกเหนือจากนี้
(กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย)หวังว่าในอนาคตสหรัฐฯสามารถช่วยเร่งขั้นตอนการจัดหา C-130J Hercules ได้" กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียกล่าว
Jane's เข้าใจว่าบริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯได้ตอบรับเอกสารขอข้อมูล(RFI: Request for Information) ที่ออกโดยกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียในกลางปี 2018
ในการสนับสนุนแผนเพื่อจะจัดหาเครื่องบินลำเลียงสำหรับกองทัพอากาศอินโดนีเซีย(Indonesian Air Force, TNI-AU: Tentara Nasional Indonesia-Angkatan Udara)
พลอากาศจัตวา Novyan Samyoga หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศของกองทัพอากาศอินโดนีเซียได้ยืนยันกับ Jane's ก่อนหน้านี้ว่า กองทัพอากาศอินโดนีเซียได้ระบุให้เครื่องบินลำเลียง C-130J เป็นการจัดหาที่มีลำดับความสำคัญต่อเครื่องบินลำเลียงบางส่วนที่มีอายุการใช้งานมานานที่ยังประจำการอยู่ ในการจัดหาระยะแรกคาดว่ากองทัพอากาศอินโดนีเซียจะจัดหาเครื่องบินลำเลียง C-130J จำนวน 5เครื่องถ้าได้รับงบประมาณเพียงพอ ปัจจุบันกองทัพอากาศอินโดนีเซียมีเครื่องบินลำเลียง C-130 รุ่นเก่าประจำการอยู่ราว 20เครื่อง โดยบางเครื่องเข้าประจำการมาตั้งแต่ปี 1960s
เมื่อปลายปี 2018 Richard Johnston ผู้อำนวยการฝ่ายการพัฒนาธุรกิจนานาชาติภายในแผนกภารกิจการเคลื่อนที่ทางอากาศและทางทะเลของ Lockheed Martin สหรัฐฯกล่าวกับ Jane's ว่า
บริษัทของสหรัฐฯได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับกองทัพอากาศอินโดนีเซียเกี่ยวกับความต้องการผ่าน "แผนงาน"(Roadmap) ที่วางแผนไว้แล้วครับ
วันอังคารที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2562
KAI เกาหลีใต้ยังคงมุ่งเน้นการขายเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50
KAI stays focused on FA-50 despite T-X setback
Korea Aerospace Industries (KAI) is forging ahead with sales efforts in the international advanced jet trainer/light attack market with the FA-50 after a stinging loss in the USA’s T-X competition.
https://www.flightglobal.com/news/articles/kai-stays-focused-on-fa-50-despite-t-x-setback-461667/
บริษัท Korea Aerospace Industries(KAI) สาธารณรัฐเกาหลีกำลังมุ่งเน้นเดินหน้าความพยายามการขายในตลาดนานาชาติสำหรับเครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้า/โจมตีเบาด้วยเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา KAI FA-50 ของตน
หลังจากพ่ายแพ้ในการแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินฝึกไอพ่นใหม่ T-X ของกองทัพอากาศสหรัฐฯ(USAF: US Air Force) ที่เครื่องบินฝึกไอพ่น Boeing-Saab T-7A Red Hawk เป็นผู้ชนะ(https://aagth1.blogspot.com/2019/09/boeing-saab-t-x-t-7a-red-hawk.html)
Sang Choi รองประธานบริหารและผู้จัดการทั่วไปภาคธุรกิจของบริษัท KAI สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในการรณรงค์การขายต่างประเทศของบริษัทสำหรับเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า T-50 Golden Eagle และเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50
เขาให้กล่าวให้สัมภาษณ์ต่อ FlightGlobal ในงานแสดงการบินและอาวุธยุทโธปกรณ์นานาชาติ ADEX 2019(Seoul International Aerospace and Defense Exhibition) ระหว่างวันที่ 15-20 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
แม้ว่าเครื่องบินฝึกไอพ่น T-50 และเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 จะได้รับการจัดหาเข้าประจำการเป็นจำนวนมากโดยกองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) และประสบความสำเร็จในการส่งออกต่างประเทศแก่
ฟิลิปปินส์(https://aagth1.blogspot.com/2018/06/fa-50ph.html), อินโดนีเซีย, กองทัพอากาศไทย(RTAF: Royal Thai Air Force)(https://aagth1.blogspot.com/2019/05/kai-t-50th.html) และอิรัก
ความตั้งใจสูงสุดของโครงการคือการเข้าแข่งขันในโครงการ T-X ของกองทัพอากาศสหรัฐฯเพื่อทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่น Northrop T-38 Talon โดยบริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯเป็นผู้รับสัญญาหลักร่วมกับ KAI เกาหลีใต้ในการเสนอเครื่องบินฝึกไอพ่น T-50A
แต่ในท้ายที่สุดก็ได้พ่ายแพ้ต่อทีมบริษัท Boeing-Saab สหรัฐฯ-สวีเดน ที่เสนอแบบแผนเครื่องบินฝึกไอพ่นที่ออกแบบใหม่ทั้งหมดคือ T-7A ในเดือนกันยายน 2018(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/boeing-saab-t-x.html)
"ผมไม่สามารถพูดได้ว่า(การแพ้ในโครงการ T-X) ไม่ได้มีผลกระทบ แต่ธุรกิจย่อมมีขึ้นมีลงตลอดเวลา การพ่ายแพ้ในโครงการ T-X เป็นเพียงแค่หนึ่งโครงการในอีกหลายๆโครงการ งานของผมคือสนับสนุนคนของผมให้เดินหน้าต่อไป
และเรามุ่งเน้นไปที่ FA-50 เรากำลังเจรจากับอินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, อาร์เจนตินา และบอตสวานา" Choi กล่าว โดยอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีการแสดงออกว่าอาจจะมีการจัดหาเพิ่มเติม
ปัจจุบันกองทัพอากาศอินโดนีเซีย(Indonesian Air Force, TNI-AU: Tentara Nasional Indonesia-Angkatan Udara) มีเครื่องบินฝึกไอพ่น T-50I ประจำการ 15เครื่องจากที่จัดหา 16เครื่อง โดยสูญเสียไป 1เครื่องจากอุบัติเหตุระหว่างการแสดงการบินในปี 2015
Choi กล่าวว่าจำนวนเครื่องที่อินโดนีเซียจะจัดหาเพิ่มเติมยังไม่ชัดเจน แต่เครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 น่าจะมีความเป็นไปได้ที่จะทดแทนเครื่องบินขับไล่ Northrop F-5E/F Tiger II จำนวน 15เครื่องที่มีข้อมูลว่าปลดประจำการลงแล้ว
กองทัพอากาศฟิลิปปินส์(PAF: Philippine Air Force) มีความเป็นไปได้ที่จะจัดหาเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50PH เพิ่มเติมอีก 12เครื่องจากที่มีประจำการแล้ว 12เครื่อง
แต่ทางฟิลิปปินส์มีความต้องการการปรับปรุงความทันสมัยของ FA-50PH ของตนเพิ่มเติมบางส่วนเพื่อสร้างการตัดสินใจ(https://aagth1.blogspot.com/2018/10/blog-post_2.html)
การปรับปรุงเหล่านี้รวมถึงการบูรณาการกระเปาะชี้เป้าหมาย Lockheed Martin Sniper Advanced Targeting Pod, ขีดความสามารถการใช้ระเบิดนำวิถี Laser การบูรณาการกระเปาะชี้เป้า Sniper ATP น่าจะเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2020(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/fa-50-asean.html)
และขีดสามารถในการติดถังเชื้อเพลิงสำรองภายนอกขนาด 300gallon ใต้ปีกเพื่อเพิ่มความจุเชื้อเพลิงของเครื่องเป็นสองเท่า จากที่เดิมติดถังเชื้อเพลิงภายนอกขนาด 150gallon ที่ใต้ปีกและใต้ลำตัวเครื่อง 3ถังเท่านั้น Choi กล่าว
Choi ยังมั่นใจในโอกาสของเครื่องบินขับไล่ FA-50 ในอาร์เจนตินาที่ต้องการจัดหาเครื่องบินรบใหม่ 8เครื่อง(https://aagth1.blogspot.com/2019/07/fa-50.html, https://aagth1.blogspot.com/2019/07/kai-fa-50.html)
"รัฐบาลอาร์เจนตินาได้ตัดสินใจที่จะซื้อ FA-50 จำนวน 8เครื่องแล้ว และเราได้มีการหารือที่จริงจังหลายอย่างกับพวกเขาเพื่อให้บรรลุรูปแบบ, ราคา และข้อกำหนดและเงื่อนไข การมีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมมีความสำคัญมากดังนั้นเรากำลังเจรจากับพวกเขา" Choi กล่าว
KAI เกาหลีใต้จะยังจัดหาเงินทุนสำหรับข้อตกลงกับอาร์เจนตินาและกำลังทำงานกับธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าสาธารณรัฐเกาหลีในประเด็นนี้
อย่างไรก็ตามการขายเครื่องบินขับไล่โจมตี FA-50 แก่อาร์เจนตินายังคงต้องรอผลสรุปของการเลือกตั้งทั่วไปของอาร์เจนตินาที่จะมีขึ้นในวันที่ 27 ตุลาคม 2019
การขายกับบอตสวานายังคงต้องรอผลการเลือกตั้งทั่วไปที่จะมีขึ้นในวันที่ 23 ตุลาคม 2019 เช่นกัน โดยมีความเป็นไปได้ในซื้อเครื่องบินรบใหม่ 12เครื่อง บริษัท Saab สวีเดนยังแสดงความสนใจในเสนอเครื่องบินขับไล่ Gripen C/D ของตนด้วย
"พวกเขายังคงมองหาอีกทางเลือกอื่นเช่น Gripen แต่ผมเชื่อว่าพวกเขาจะกลับมาหา FA-50 เราจะรื้อฟื้นการเจรจากับบอตสวานาในทุกเวลาที่เหมาะสมหลังการเลือกตั้ง"(https://aagth1.blogspot.com/2016/05/blog-post_20.html)
Choi เสริมว่ากองทัพอากาศอิรัก(Iraqi Ai Force)ซึ่งได้รับมอบเครื่องบินฝึกโจมตีเบา T-50IQ จำนวน 22เครื่องจากที่สั่งทั้งหมด 24เครื่อง(https://aagth1.blogspot.com/2013/12/t-50.html) ไม่ได้แสดงความสนใจที่จะจัดหาเพิ่มเติม
"พวกเขากำลังพยายามจัดตั้งขีดความสามารถกองทัพอากาศของพวกเขาเอง ในระหว่างนี้เรากำลังมุ่งที่การสนับสนุนหลังการขาย" Choi เสริมว่ายังมีลูกค้าที่เป็นไปได้อื่นที่กำลังมอง FA-50 "ยังเร็วเกินไปหน่อยที่จะเปิดเผยชื่อของพวกเขา" เขากล่าว
แผนการปรับปรุงความทันสมัยในระยะยาวสำหรับ FA-50 รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถการใช้อาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยยิงนอกระยะสายตา(BVRAAM: Beyond Visual Range Air-to-Air Missile) แม้ว่า Choi จะไม่ได้ระบุชนิดอาวุธ
เช่นเดียวกับความเป็นไปได้ในการเพิ่มขีดความสามารถการเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศแบบ Probe-and-drogue ในปี 2025 ส่วน AESA(Active Electronically Scanned Array) radar จะได้รับการติดตั้งหรือไม่ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า Choi กล่าว
แต่กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลีไม่การที่จะปรับปรุง FA-50 ด้วย AESA radar "มันไม่ใช่การตัดสินใจที่ง่าย เราจำเป็นที่จะต้องรู้ว่ามีลูกค้าในอนาคตเท่าไรที่กำลังมอง AESA radar
มีลูกค้าบ้างรายที่มอง แต่บางรายก็ไม่ นอกจากนี้มันยังอาจมีปัญหาเรื่องสิทธิบัตรส่งออก มันเป็นการตัดสินใจที่ยุ่งยาก ถ้าตลาดเรียกร้อง เราจะทำมัน" Choi กล่าว
ความเป็นไปได้ในอีกการขายคือการแข่งขันโครงการเครื่องบินรบเบา LCA(Light Combat Aircraft) กองทัพอากาศมาเลเซีย(RMAF: Royal Malaysian Air Force, TUDM: Tentera Udara Diraja Malaysia) ซึ่งต้องการเครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้า 12เครื่องและเครื่องบินโจมตีเบา 24เครื่อง
ความต้องการนี้ของมาเลเซียได้ดึงดูดผู้เข้าแข่งขันอีกหลายรายเช่น เครื่องบินขับไล่ Chengdu/Pakistan Aeronautical Complex JF-17 จีน-ปากีสถาน และเครื่องบินขับไล่ Hindustan Aeronautics Tejas(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/fa-50.html)
Choi เสริมว่า KAI และภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงสาธารณรัฐเกาหลีที่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีในงานเพื่อขายเครื่องบินแก่ต่างประเทศ "รัฐบาล(เกาหลีใต้)ให้ความสนใจอย่างมากกับอุตสาหกรรมการบินและพยายามที่จะสนับสนุน
เมื่อใดก็ตามที่เจ้าหน้าที่รัฐบาลเจรจากับเหล่ามิตรสหายระดับนานาชาติ พวกเขาพูดเกี่ยวกับระบบอาวุธและยุทโธปกรณ์ของเกาหลี ด้วยการสนับสนุนของพวกเขาเราเชื่อว่าสิ่งนี้จะเป็นไปด้วยดี" Choi กล่าวครับ
Korea Aerospace Industries (KAI) is forging ahead with sales efforts in the international advanced jet trainer/light attack market with the FA-50 after a stinging loss in the USA’s T-X competition.
https://www.flightglobal.com/news/articles/kai-stays-focused-on-fa-50-despite-t-x-setback-461667/
บริษัท Korea Aerospace Industries(KAI) สาธารณรัฐเกาหลีกำลังมุ่งเน้นเดินหน้าความพยายามการขายในตลาดนานาชาติสำหรับเครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้า/โจมตีเบาด้วยเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา KAI FA-50 ของตน
หลังจากพ่ายแพ้ในการแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินฝึกไอพ่นใหม่ T-X ของกองทัพอากาศสหรัฐฯ(USAF: US Air Force) ที่เครื่องบินฝึกไอพ่น Boeing-Saab T-7A Red Hawk เป็นผู้ชนะ(https://aagth1.blogspot.com/2019/09/boeing-saab-t-x-t-7a-red-hawk.html)
Sang Choi รองประธานบริหารและผู้จัดการทั่วไปภาคธุรกิจของบริษัท KAI สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในการรณรงค์การขายต่างประเทศของบริษัทสำหรับเครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นก้าวหน้า T-50 Golden Eagle และเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50
เขาให้กล่าวให้สัมภาษณ์ต่อ FlightGlobal ในงานแสดงการบินและอาวุธยุทโธปกรณ์นานาชาติ ADEX 2019(Seoul International Aerospace and Defense Exhibition) ระหว่างวันที่ 15-20 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมา
แม้ว่าเครื่องบินฝึกไอพ่น T-50 และเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 จะได้รับการจัดหาเข้าประจำการเป็นจำนวนมากโดยกองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลี(ROKAF: Republic of Korea Air Force) และประสบความสำเร็จในการส่งออกต่างประเทศแก่
ฟิลิปปินส์(https://aagth1.blogspot.com/2018/06/fa-50ph.html), อินโดนีเซีย, กองทัพอากาศไทย(RTAF: Royal Thai Air Force)(https://aagth1.blogspot.com/2019/05/kai-t-50th.html) และอิรัก
ความตั้งใจสูงสุดของโครงการคือการเข้าแข่งขันในโครงการ T-X ของกองทัพอากาศสหรัฐฯเพื่อทดแทนเครื่องบินฝึกไอพ่น Northrop T-38 Talon โดยบริษัท Lockheed Martin สหรัฐฯเป็นผู้รับสัญญาหลักร่วมกับ KAI เกาหลีใต้ในการเสนอเครื่องบินฝึกไอพ่น T-50A
แต่ในท้ายที่สุดก็ได้พ่ายแพ้ต่อทีมบริษัท Boeing-Saab สหรัฐฯ-สวีเดน ที่เสนอแบบแผนเครื่องบินฝึกไอพ่นที่ออกแบบใหม่ทั้งหมดคือ T-7A ในเดือนกันยายน 2018(https://aagth1.blogspot.com/2018/09/boeing-saab-t-x.html)
"ผมไม่สามารถพูดได้ว่า(การแพ้ในโครงการ T-X) ไม่ได้มีผลกระทบ แต่ธุรกิจย่อมมีขึ้นมีลงตลอดเวลา การพ่ายแพ้ในโครงการ T-X เป็นเพียงแค่หนึ่งโครงการในอีกหลายๆโครงการ งานของผมคือสนับสนุนคนของผมให้เดินหน้าต่อไป
และเรามุ่งเน้นไปที่ FA-50 เรากำลังเจรจากับอินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, อาร์เจนตินา และบอตสวานา" Choi กล่าว โดยอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีการแสดงออกว่าอาจจะมีการจัดหาเพิ่มเติม
ปัจจุบันกองทัพอากาศอินโดนีเซีย(Indonesian Air Force, TNI-AU: Tentara Nasional Indonesia-Angkatan Udara) มีเครื่องบินฝึกไอพ่น T-50I ประจำการ 15เครื่องจากที่จัดหา 16เครื่อง โดยสูญเสียไป 1เครื่องจากอุบัติเหตุระหว่างการแสดงการบินในปี 2015
Choi กล่าวว่าจำนวนเครื่องที่อินโดนีเซียจะจัดหาเพิ่มเติมยังไม่ชัดเจน แต่เครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50 น่าจะมีความเป็นไปได้ที่จะทดแทนเครื่องบินขับไล่ Northrop F-5E/F Tiger II จำนวน 15เครื่องที่มีข้อมูลว่าปลดประจำการลงแล้ว
กองทัพอากาศฟิลิปปินส์(PAF: Philippine Air Force) มีความเป็นไปได้ที่จะจัดหาเครื่องบินขับไล่โจมตีเบา FA-50PH เพิ่มเติมอีก 12เครื่องจากที่มีประจำการแล้ว 12เครื่อง
แต่ทางฟิลิปปินส์มีความต้องการการปรับปรุงความทันสมัยของ FA-50PH ของตนเพิ่มเติมบางส่วนเพื่อสร้างการตัดสินใจ(https://aagth1.blogspot.com/2018/10/blog-post_2.html)
การปรับปรุงเหล่านี้รวมถึงการบูรณาการกระเปาะชี้เป้าหมาย Lockheed Martin Sniper Advanced Targeting Pod, ขีดความสามารถการใช้ระเบิดนำวิถี Laser การบูรณาการกระเปาะชี้เป้า Sniper ATP น่าจะเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2020(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/fa-50-asean.html)
และขีดสามารถในการติดถังเชื้อเพลิงสำรองภายนอกขนาด 300gallon ใต้ปีกเพื่อเพิ่มความจุเชื้อเพลิงของเครื่องเป็นสองเท่า จากที่เดิมติดถังเชื้อเพลิงภายนอกขนาด 150gallon ที่ใต้ปีกและใต้ลำตัวเครื่อง 3ถังเท่านั้น Choi กล่าว
Choi ยังมั่นใจในโอกาสของเครื่องบินขับไล่ FA-50 ในอาร์เจนตินาที่ต้องการจัดหาเครื่องบินรบใหม่ 8เครื่อง(https://aagth1.blogspot.com/2019/07/fa-50.html, https://aagth1.blogspot.com/2019/07/kai-fa-50.html)
"รัฐบาลอาร์เจนตินาได้ตัดสินใจที่จะซื้อ FA-50 จำนวน 8เครื่องแล้ว และเราได้มีการหารือที่จริงจังหลายอย่างกับพวกเขาเพื่อให้บรรลุรูปแบบ, ราคา และข้อกำหนดและเงื่อนไข การมีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมมีความสำคัญมากดังนั้นเรากำลังเจรจากับพวกเขา" Choi กล่าว
KAI เกาหลีใต้จะยังจัดหาเงินทุนสำหรับข้อตกลงกับอาร์เจนตินาและกำลังทำงานกับธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าสาธารณรัฐเกาหลีในประเด็นนี้
อย่างไรก็ตามการขายเครื่องบินขับไล่โจมตี FA-50 แก่อาร์เจนตินายังคงต้องรอผลสรุปของการเลือกตั้งทั่วไปของอาร์เจนตินาที่จะมีขึ้นในวันที่ 27 ตุลาคม 2019
การขายกับบอตสวานายังคงต้องรอผลการเลือกตั้งทั่วไปที่จะมีขึ้นในวันที่ 23 ตุลาคม 2019 เช่นกัน โดยมีความเป็นไปได้ในซื้อเครื่องบินรบใหม่ 12เครื่อง บริษัท Saab สวีเดนยังแสดงความสนใจในเสนอเครื่องบินขับไล่ Gripen C/D ของตนด้วย
"พวกเขายังคงมองหาอีกทางเลือกอื่นเช่น Gripen แต่ผมเชื่อว่าพวกเขาจะกลับมาหา FA-50 เราจะรื้อฟื้นการเจรจากับบอตสวานาในทุกเวลาที่เหมาะสมหลังการเลือกตั้ง"(https://aagth1.blogspot.com/2016/05/blog-post_20.html)
Choi เสริมว่ากองทัพอากาศอิรัก(Iraqi Ai Force)ซึ่งได้รับมอบเครื่องบินฝึกโจมตีเบา T-50IQ จำนวน 22เครื่องจากที่สั่งทั้งหมด 24เครื่อง(https://aagth1.blogspot.com/2013/12/t-50.html) ไม่ได้แสดงความสนใจที่จะจัดหาเพิ่มเติม
"พวกเขากำลังพยายามจัดตั้งขีดความสามารถกองทัพอากาศของพวกเขาเอง ในระหว่างนี้เรากำลังมุ่งที่การสนับสนุนหลังการขาย" Choi เสริมว่ายังมีลูกค้าที่เป็นไปได้อื่นที่กำลังมอง FA-50 "ยังเร็วเกินไปหน่อยที่จะเปิดเผยชื่อของพวกเขา" เขากล่าว
แผนการปรับปรุงความทันสมัยในระยะยาวสำหรับ FA-50 รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถการใช้อาวุธปล่อยนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยยิงนอกระยะสายตา(BVRAAM: Beyond Visual Range Air-to-Air Missile) แม้ว่า Choi จะไม่ได้ระบุชนิดอาวุธ
เช่นเดียวกับความเป็นไปได้ในการเพิ่มขีดความสามารถการเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศแบบ Probe-and-drogue ในปี 2025 ส่วน AESA(Active Electronically Scanned Array) radar จะได้รับการติดตั้งหรือไม่ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า Choi กล่าว
แต่กองทัพอากาศสาธารณรัฐเกาหลีไม่การที่จะปรับปรุง FA-50 ด้วย AESA radar "มันไม่ใช่การตัดสินใจที่ง่าย เราจำเป็นที่จะต้องรู้ว่ามีลูกค้าในอนาคตเท่าไรที่กำลังมอง AESA radar
มีลูกค้าบ้างรายที่มอง แต่บางรายก็ไม่ นอกจากนี้มันยังอาจมีปัญหาเรื่องสิทธิบัตรส่งออก มันเป็นการตัดสินใจที่ยุ่งยาก ถ้าตลาดเรียกร้อง เราจะทำมัน" Choi กล่าว
ความเป็นไปได้ในอีกการขายคือการแข่งขันโครงการเครื่องบินรบเบา LCA(Light Combat Aircraft) กองทัพอากาศมาเลเซีย(RMAF: Royal Malaysian Air Force, TUDM: Tentera Udara Diraja Malaysia) ซึ่งต้องการเครื่องบินฝึกขั้นก้าวหน้า 12เครื่องและเครื่องบินโจมตีเบา 24เครื่อง
ความต้องการนี้ของมาเลเซียได้ดึงดูดผู้เข้าแข่งขันอีกหลายรายเช่น เครื่องบินขับไล่ Chengdu/Pakistan Aeronautical Complex JF-17 จีน-ปากีสถาน และเครื่องบินขับไล่ Hindustan Aeronautics Tejas(https://aagth1.blogspot.com/2019/01/fa-50.html)
Choi เสริมว่า KAI และภาคอุตสาหกรรมความมั่นคงสาธารณรัฐเกาหลีที่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีในงานเพื่อขายเครื่องบินแก่ต่างประเทศ "รัฐบาล(เกาหลีใต้)ให้ความสนใจอย่างมากกับอุตสาหกรรมการบินและพยายามที่จะสนับสนุน
เมื่อใดก็ตามที่เจ้าหน้าที่รัฐบาลเจรจากับเหล่ามิตรสหายระดับนานาชาติ พวกเขาพูดเกี่ยวกับระบบอาวุธและยุทโธปกรณ์ของเกาหลี ด้วยการสนับสนุนของพวกเขาเราเชื่อว่าสิ่งนี้จะเป็นไปด้วยดี" Choi กล่าวครับ
วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2562
สหรัฐฯเลื่อนการตัดสินใจสายการผลิตเต็มอัตราเครื่องบินขับไล่ F-35 ไปอีก 13เดือน
Pentagon delays F-35 full-rate production decision by 13 months
Delays developing the JSE forced the Pentagon to delay its F-35 FRP decision by 13 months. Source: US Air Force
https://www.janes.com/article/92039/pentagon-delays-f-35-full-rate-production-decision-by-13-months
กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯหรือ Pentagon ได้เลื่อนการตัดสินใจการเปิดสายการผลิตเต็มอัตรา(FRP: Full-Rate Production) สำหรับเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35 Lightning II Joint Strike Fighter(JSF)
เนื่องจากขาดความคืบหน้ากับระบบการจำลองสภาพแวดล้อมร่วม(JSE: Joint Simulation Environment) ที่จะใช้ทดสอบเครื่องบินขับไล่ในการต่อต้านภัยคุกคามระดับสูงที่ไม่สามารถทำเลียนแบบในสนามฝึกจริงได้
Ellen Lord รัฐมนตรีช่วยด้านการจัดหาและดำรงสภาพ(A&S: Acquisition and Sustainment) กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯกล่าวกับสื่อเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมาว่า การประกาศนี้หมายความว่า
การตัดสินใจสายการผลิตเต็มอัตราสำหรับเครื่องบินขับไล่ F-35 จะไม่มีขึ้นในเดือนธันวาคม 2019 ตามที่คาดการณ์ไว้ดั้งเดิม แต่อาจเกิดขึ้นในเดือนธันวาคม 2020 หรือมกราคม 2021
Dan Grazier ผู้ติดตามทางทหารในกลุ่มเฝ้าสังเกตการณ์โครงการรัฐบาล Project on Government Oversight(POGO) ใน Washington, DC กล่าวกับ Jane's เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2019 ว่า
ข้อจำกัดในสนามฝึกจริงทำให้เครื่องบินขับไล่ F-35 ไม่สามารถที่จะได้รับการทดสอบภารกิจต่อต้านภัยคุกคามระดับสูงมากๆ อย่างเช่นฐานข้าศึกที่มาระบบป้องกันหนาแน่นด้วยการบูรณาการเครือข่ายระบบป้องกันภัยทางอากาศระดับสูง
Grazier กล่าวว่าในทางทฤษฎี Pentagon ควรที่จะสามารถเลียนแบบภารกิจเหล่านี้ในเครื่องจำลอง Simulator ได้ เขากล่าวว่า Pentagon จะต้องมีระบบจำลอง JSE ที่มีรูปแบบการทำงานที่ถูกต้อง
เพื่อจะให้เสร็จสิ้นขั้นตอนการทดสอบและประเมินค่าปฏิบัติการขั้นต้น(IOT&E: Initial Operational Test and Evaluation) ซึ่งจำเป็นต่อการรายงานข้อมูลที่ถูกต้องในการตัดสินใจการเปิดสายการผลิตจำนวนมาก FRP
มีสถานที่ตั้งเครื่องจำลองสภาพแวดล้อมร่วม JSE อย่างน้อย 3แห่ง Grazier กล่าวว่า กองทัพเรือสหรัฐฯ(USN: US Navy) กำลังพัฒนาระบบหนึ่งที่สถานีอากาศนาวี(NAS: Naval Air Station) Patuxent River มลรัฐ Maryland เป็นเวลาประมาณ 3ปีแล้ว
กองทัพอากาศสหรัฐฯ(USAF: US Air Force) ยังมีแผนที่จะมีระบบจำลอง JSE ของตนเองสองแห่ง โดยระบบที่ก้าวล้ำสมัยทั้งสองแห่งนี้มีกำหนดจะเปิดใช้ในเดือนพฤษภาคม 2020
สถานที่ตั้งระบบจำลอง JSE แห่งแรกของกองทัพอากาศหรัฐฯขนาด 21,988ตารางเมตร มีได้รับการวางแผนให้ตั้งที่ฐานทัพอากาศ Edwards AFB(Air Force Base) มลรัฐ California ขณะที่อีกแห่งขนาด 15,535ตารางเมตร จะมีที่ตั้งที่ฐานทัพอากาศ Nellis AFB มลรัฐ Nevada
ซึ่งปัจจุบันสถานีอากาศนาวี NAS Patuxent River, ฐานทัพอากาศ Edwards และฐานทัพอากาศ Nellis เป็นที่ตั้งของฝูงบินฝึกและทดสอบประเมินค่าเครื่องบินขับไล่ F-35 ครับ
Delays developing the JSE forced the Pentagon to delay its F-35 FRP decision by 13 months. Source: US Air Force
https://www.janes.com/article/92039/pentagon-delays-f-35-full-rate-production-decision-by-13-months
กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯหรือ Pentagon ได้เลื่อนการตัดสินใจการเปิดสายการผลิตเต็มอัตรา(FRP: Full-Rate Production) สำหรับเครื่องบินขับไล่ Lockheed Martin F-35 Lightning II Joint Strike Fighter(JSF)
เนื่องจากขาดความคืบหน้ากับระบบการจำลองสภาพแวดล้อมร่วม(JSE: Joint Simulation Environment) ที่จะใช้ทดสอบเครื่องบินขับไล่ในการต่อต้านภัยคุกคามระดับสูงที่ไม่สามารถทำเลียนแบบในสนามฝึกจริงได้
Ellen Lord รัฐมนตรีช่วยด้านการจัดหาและดำรงสภาพ(A&S: Acquisition and Sustainment) กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯกล่าวกับสื่อเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2019 ที่ผ่านมาว่า การประกาศนี้หมายความว่า
การตัดสินใจสายการผลิตเต็มอัตราสำหรับเครื่องบินขับไล่ F-35 จะไม่มีขึ้นในเดือนธันวาคม 2019 ตามที่คาดการณ์ไว้ดั้งเดิม แต่อาจเกิดขึ้นในเดือนธันวาคม 2020 หรือมกราคม 2021
Dan Grazier ผู้ติดตามทางทหารในกลุ่มเฝ้าสังเกตการณ์โครงการรัฐบาล Project on Government Oversight(POGO) ใน Washington, DC กล่าวกับ Jane's เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2019 ว่า
ข้อจำกัดในสนามฝึกจริงทำให้เครื่องบินขับไล่ F-35 ไม่สามารถที่จะได้รับการทดสอบภารกิจต่อต้านภัยคุกคามระดับสูงมากๆ อย่างเช่นฐานข้าศึกที่มาระบบป้องกันหนาแน่นด้วยการบูรณาการเครือข่ายระบบป้องกันภัยทางอากาศระดับสูง
Grazier กล่าวว่าในทางทฤษฎี Pentagon ควรที่จะสามารถเลียนแบบภารกิจเหล่านี้ในเครื่องจำลอง Simulator ได้ เขากล่าวว่า Pentagon จะต้องมีระบบจำลอง JSE ที่มีรูปแบบการทำงานที่ถูกต้อง
เพื่อจะให้เสร็จสิ้นขั้นตอนการทดสอบและประเมินค่าปฏิบัติการขั้นต้น(IOT&E: Initial Operational Test and Evaluation) ซึ่งจำเป็นต่อการรายงานข้อมูลที่ถูกต้องในการตัดสินใจการเปิดสายการผลิตจำนวนมาก FRP
มีสถานที่ตั้งเครื่องจำลองสภาพแวดล้อมร่วม JSE อย่างน้อย 3แห่ง Grazier กล่าวว่า กองทัพเรือสหรัฐฯ(USN: US Navy) กำลังพัฒนาระบบหนึ่งที่สถานีอากาศนาวี(NAS: Naval Air Station) Patuxent River มลรัฐ Maryland เป็นเวลาประมาณ 3ปีแล้ว
กองทัพอากาศสหรัฐฯ(USAF: US Air Force) ยังมีแผนที่จะมีระบบจำลอง JSE ของตนเองสองแห่ง โดยระบบที่ก้าวล้ำสมัยทั้งสองแห่งนี้มีกำหนดจะเปิดใช้ในเดือนพฤษภาคม 2020
สถานที่ตั้งระบบจำลอง JSE แห่งแรกของกองทัพอากาศหรัฐฯขนาด 21,988ตารางเมตร มีได้รับการวางแผนให้ตั้งที่ฐานทัพอากาศ Edwards AFB(Air Force Base) มลรัฐ California ขณะที่อีกแห่งขนาด 15,535ตารางเมตร จะมีที่ตั้งที่ฐานทัพอากาศ Nellis AFB มลรัฐ Nevada
ซึ่งปัจจุบันสถานีอากาศนาวี NAS Patuxent River, ฐานทัพอากาศ Edwards และฐานทัพอากาศ Nellis เป็นที่ตั้งของฝูงบินฝึกและทดสอบประเมินค่าเครื่องบินขับไล่ F-35 ครับ
วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2562
Hanwha Defense เกาหลีใต้เปิดตัวต้นแบบรถรบทหารราบ AS21 Redback IFV
ADEX 2019: Hanwha Defense unveils prototype of AS21 Redback IFV
Hanwha Defense unveiled a prototype of its AS21 Redback IFV at the ADEX 2019 exhibition. The IFV has been shortlisted for the Australian Army’s Project Land 400 Phase 3 along with Rheinmetall Defence’s Lynx KF41 IFV. Source: IHS Markit/Jon Grevatt
https://www.janes.com/article/91997/adex-2019-hanwha-defense-unveils-prototype-of-as21-redback-ifv
บริษัท Hanwha Defense สาธารณรัฐเกาหลีได้เปิดตัวต้นแบบของรถรบทหารราบ(IFV: Infantry Fighting Vehicle) AS21 Redback ของตน
เป็นครั้งแรกในงานแสดงการบินและอาวุธยุทโธปกรณ์นานาชาติ ADEX 2019(Seoul International Aerospace and Defense Exhibition) ระหว่างวันที่ 15-20 ตุลาคม 2019
รถรบทหารราบ AS21 Redback สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งอยู่ในรายชื่อร่วมกับรถรบทหารราบ Lynx KF41 ของบริษัท Rheinmetall Defence เยอรมนี ที่จะเข้าแข่งขันในโครงการ Project Land 400 Phase 3 วงเงิน A$10-15 billion($6.9-10.3 billion)
เพื่อการจัดหารถรบทหารราบ IFV สมัยใหม่ 450คัน และรถสนับสนุนการดำเนินกลยุทธ(manoeuvre support vehicle) 17คัน สำหรับกองทัพบกออสเตรเลีย(Australian Army)
รถรบทหารราบ AS21 Redback ถูกเปิดตัวในพิธีที่มีขึ้นในวันที่ 15 ตุลาคม 2019 ในงาน ADEX 2019 โดยเชิญนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐเกาหลี Lee Nak-yeon และรัฐมนตรีกลาโหมสาธารณรัฐเกาหลี Jeong Kyeong-doo และแขกผู้มีเกียรติรายอื่นๆร่วมงาน
AS21 Redback มีน้ำหนัก 42tons ทำความเร็วได้ถึง 65km/h มีระยะทำการไกลสุด 520km มีพลประจำรถ 3นาย และบรรทุกทหารราบไปกับรถได้ 8นาย ตามข้อมูลจาก Hanwha Defense เกาหลีใต้
AS21 Redback เป็นรุ่นได้รับปรับปรุงอย่างมากของรถรบทหารราบ K21 ซึ่งเข้าประจำการในกองทัพบกสาธารณรัฐเกาหลี(ROKA: Republic of Korea Army) ตั้งแต่ปี 2009
ระบบนำเสนอป้อมปืน T2000 แบบมีพลประจำป้อม 2นาย ติดปืนใหญ่กล 30mm ซึ่งพัฒนาโดยบริษัท Electro Optic Systems(EOS) ออสเตรเลีย และจะได้รับประโยชน์จากการร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับบริษัท Elbit Systems อิสราเอลในการบูรณาการระบบควบคุมบังคับบัญชา C4I
ป้อมปืน T2000 สามารถเลือกติดตั้งอาวุธหลักปืนใหญ่กลตั้งแต่ขนาด 25mm ถึง 50mm, ปืนกลร่วมแกนขนาด 5.56mm ถึง 7.62mm, บูรณาการแท่นยิงยืดหดแยกจากป้อมปืนได้สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง FGM-148 Javelin หนึ่งนัดหรือ Spike LR2 สองนัด
และป้อมปืน Remote(RWS: Remote Weapon Station) แบบ EOS R400S Mk 2 HD ที่สามารถติดตั้งอาวุธลำกล้องขนาดกลางได้รวมถึงปืนใหญ่กลขนาดเบา M230LF ขนาด 30mm
โดยยังสามารถเลือกติดตั้งป้อมปืน Remote RWS แบบ EOS R150 ที่สามารถติดตั้งอาวุธยิงตั้งแต่ขนาดปืนกลเบาขนาด 5.56mm จนถึงปืนกลหนักขนาด 12.7mm ได้
อย่างไรก็ตามรถรบทหารราบ AS21 Redback ต้นแบบที่นำมาจัดแสดงในงาน ADEX 2019 นั้นไม่ได้นำเสนอคุณสมบัติการติดตั้งป้อมปืน RWS ครับ
Hanwha Defense unveiled a prototype of its AS21 Redback IFV at the ADEX 2019 exhibition. The IFV has been shortlisted for the Australian Army’s Project Land 400 Phase 3 along with Rheinmetall Defence’s Lynx KF41 IFV. Source: IHS Markit/Jon Grevatt
https://www.janes.com/article/91997/adex-2019-hanwha-defense-unveils-prototype-of-as21-redback-ifv
บริษัท Hanwha Defense สาธารณรัฐเกาหลีได้เปิดตัวต้นแบบของรถรบทหารราบ(IFV: Infantry Fighting Vehicle) AS21 Redback ของตน
เป็นครั้งแรกในงานแสดงการบินและอาวุธยุทโธปกรณ์นานาชาติ ADEX 2019(Seoul International Aerospace and Defense Exhibition) ระหว่างวันที่ 15-20 ตุลาคม 2019
รถรบทหารราบ AS21 Redback สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งอยู่ในรายชื่อร่วมกับรถรบทหารราบ Lynx KF41 ของบริษัท Rheinmetall Defence เยอรมนี ที่จะเข้าแข่งขันในโครงการ Project Land 400 Phase 3 วงเงิน A$10-15 billion($6.9-10.3 billion)
เพื่อการจัดหารถรบทหารราบ IFV สมัยใหม่ 450คัน และรถสนับสนุนการดำเนินกลยุทธ(manoeuvre support vehicle) 17คัน สำหรับกองทัพบกออสเตรเลีย(Australian Army)
รถรบทหารราบ AS21 Redback ถูกเปิดตัวในพิธีที่มีขึ้นในวันที่ 15 ตุลาคม 2019 ในงาน ADEX 2019 โดยเชิญนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐเกาหลี Lee Nak-yeon และรัฐมนตรีกลาโหมสาธารณรัฐเกาหลี Jeong Kyeong-doo และแขกผู้มีเกียรติรายอื่นๆร่วมงาน
AS21 Redback มีน้ำหนัก 42tons ทำความเร็วได้ถึง 65km/h มีระยะทำการไกลสุด 520km มีพลประจำรถ 3นาย และบรรทุกทหารราบไปกับรถได้ 8นาย ตามข้อมูลจาก Hanwha Defense เกาหลีใต้
AS21 Redback เป็นรุ่นได้รับปรับปรุงอย่างมากของรถรบทหารราบ K21 ซึ่งเข้าประจำการในกองทัพบกสาธารณรัฐเกาหลี(ROKA: Republic of Korea Army) ตั้งแต่ปี 2009
ระบบนำเสนอป้อมปืน T2000 แบบมีพลประจำป้อม 2นาย ติดปืนใหญ่กล 30mm ซึ่งพัฒนาโดยบริษัท Electro Optic Systems(EOS) ออสเตรเลีย และจะได้รับประโยชน์จากการร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับบริษัท Elbit Systems อิสราเอลในการบูรณาการระบบควบคุมบังคับบัญชา C4I
ป้อมปืน T2000 สามารถเลือกติดตั้งอาวุธหลักปืนใหญ่กลตั้งแต่ขนาด 25mm ถึง 50mm, ปืนกลร่วมแกนขนาด 5.56mm ถึง 7.62mm, บูรณาการแท่นยิงยืดหดแยกจากป้อมปืนได้สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง FGM-148 Javelin หนึ่งนัดหรือ Spike LR2 สองนัด
และป้อมปืน Remote(RWS: Remote Weapon Station) แบบ EOS R400S Mk 2 HD ที่สามารถติดตั้งอาวุธลำกล้องขนาดกลางได้รวมถึงปืนใหญ่กลขนาดเบา M230LF ขนาด 30mm
โดยยังสามารถเลือกติดตั้งป้อมปืน Remote RWS แบบ EOS R150 ที่สามารถติดตั้งอาวุธยิงตั้งแต่ขนาดปืนกลเบาขนาด 5.56mm จนถึงปืนกลหนักขนาด 12.7mm ได้
อย่างไรก็ตามรถรบทหารราบ AS21 Redback ต้นแบบที่นำมาจัดแสดงในงาน ADEX 2019 นั้นไม่ได้นำเสนอคุณสมบัติการติดตั้งป้อมปืน RWS ครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)